Page 38 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 38

898
ขึ้นมา ความปวดกับใจรู้ก็เป็นคนละส่วนกัน, มีความสุขเกิดขึ้นมา จิตที่ทาหน้าที่รู้ว่าสุขกับความสุขก็เป็น คนละส่วนกัน, มีอารมณ์เข้ามากระทบ รูป เสียง กลิ่น รสต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ก็เห็นเป็นคนละส่วนระหว่างจิต ที่ทาหน้าที่รู้กับรูป เสียง กลิ่น รสอันนั้น
พอกาหนดรู้อย่างนี้อย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จิตก็จะเกิดความอิสระจะเกิดความรู้สึกสบาย แล้วพอ มาดูที่จิตที่อิสระที่สบาย ไม่ถูกครอบงาด้วยอารมณ์ด้วยอกุศลเหล่านั้น ลองดูว่า จิตตรงนั้นเป็นอย่างไร สภาพจิตตรงนั้นดีไหม ดีอย่างไร ทุกข์หรือเปล่า ? นั่นคือการพิจารณาสภาวธรรม แต่ถ้าพิจารณาถึงการ เกิดดับของอารมณ์นั้นไปอีกเพื่อความแยบคายมากขึ้น ก็ยิ่งเป็นการดีใหญ่ เพราะจะได้เห็นชัดขึ้นไปอีกว่า ไม่มีอะไรเป็นของเที่ยง เป็นธรรมชาติล้วน ๆ ที่กาลังเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นไปตามเหตุตามปัจจัย... ทีนี้ เราทาอย่างไร ? ก็ทาไปตามเหตุปัจจัยอันเป็นไปเพื่อความดับทุกข์ การกระทาทางกายทางวาจาทางใจ...ทา อย่างไรถึงไม่นาทุกข์มาในภายภาคหน้า นี่แหละคือการพิจารณาสภาวธรรม
เพราะฉะนั้น ขอให้เราพิจารณาดี ๆ เดี๋ยวต่อไปอาจารย์จะไม่ใช่เสียง ลองทบทวนพิจารณาธรรมะ เรื่องของขันธ์ต่าง ๆ เรื่องของอาการพระไตรลักษณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในวันที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้เมื่อสอง พนั กวา่ ปที ผี่ า่ นมาเพอื่ เปน็ พทุ ธบชู า ปฏปิ ตั ตบิ ชู าเปน็ การบชู าทดี่ ที สี่ ดุ กค็ อื การปฏบิ ตั ธิ รรมเพอื่ ใหเ้ ราไดเ้ หน็ แจ่มแจ้งในธรรมที่พระองค์ทรงตรัส และทาจิตของตนให้อิสระจากความทุกข์ทั้งปวง ให้อิสระจากกิเลสทั้ง หลายที่เข้ามาครอบงาร้อยรัดเราให้ติดอยู่ในวัฏสงสาร เพราะฉะนั้น ขอให้เราตั้งใจพิจารณาธรรมที่กาลัง ปรากฏเกิดขึ้นเฉพาะหน้าไปจนกว่าจะเห็นสมควรแก่เวลา จากนั้นเราจะแผ่เมตตากันเป็นลาดับถัดไป ขอ ให้ตั้งใจ...
ตอ่ ไปเราจะแผเ่ มตตากนั การแผเ่ มตตาคอื การแผพ่ ลงั บญุ แผจ่ ติ ทเี่ ปน็ บญุ ขณะทจี่ ติ เรามคี วามสงบ มีความผ่องใส มีความตั้งมั่น ให้เพิ่มความนิ่มนวลเข้าไปในความสงบ ความตั้งมั่น ความผ่องใสนั้น เมื่อ จิตตั้งมั่นมีพลังแล้ว การเพิ่มความนุ่มนวลความละเอียดอ่อนเข้าไปในจิตที่ตั้งมั่น จะทาให้จิตที่ต้ังมั่นที่มี พลังนั้นเป็นพลังของความสงบ ความนุ่มนวล ความละเอียดอ่อน ที่เป็นพลังความสุข เป็นพลังของบุญ ที่ พร้อมที่จะให้ เมื่อรู้สึกว่าจิตเราเต็มไปด้วยพลังแล้ว ให้ตั้งจิตอธิษฐานให้กับตนเองด้วยอานุภาพแห่งบุญนี้ จงมาเป็นตบะ เป็นพลว เป็นปัจจัย ให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา มีดวงตาเห็นธรรม และเข้า ถึงธรรมโดยฉับพลัน...
จากนั้นให้แผ่จิตที่เป็นบุญอันนี้ให้กว้างออกไปอีก แผ่จิตที่มีความสุขความละเอียดอ่อนอันนี้ให้ กว้างออกไป กว้างออกไป กว้างออกไป... ไม่มีขอบเขตไม่มีประมาณ ให้กว้างเท่าจักรวาล แล้วตั้งจิต อธิษฐานแผ่บุญกุศลอันนี้ให้กับผู้มีพระคุณทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ลูกหลาน ญาติสนิท มิตรสหาย เพื่อนร่วมโลกเกิดแก่เจ็บตาย เทวดาทั้งหลาย ทั้งที่อยู่ ณ สถานที่แห่งนี้และที่อื่น ๆ จงรับรู้ ถึงบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้แผ่ไปแล้วนี้ เมื่อรับรู้แล้วก็ขอให้อนุโมทนา เมื่ออนุโมทนาแล้ว ถ้ามีทุกข์ก็ขอให้พ้น จากทุกข์ ถ้ามีสุขก็ขอให้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป ถ้ามีเวรมีภัยต่อกัน ก็ขอให้อโหสิกรรมซึ่งกันและกัน เพื่อความ เจริญความผาสุกในชีวิตตลอดไป


































































































   36   37   38   39   40