Page 81 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 81

941
กาหนดของเราได้ปัจจุบัน ก็จะเข้าถึงสภาวธรรม ให้ทาในลักษณะอย่างนี้กาหนดแบบนี้ต่อไป ถ้าใครทาจิต ให้ว่างแล้วข้างหน้ามีความสว่างเกิดขึ้นมา ก็ให้มีสติเข้าไปกาหนดรู้ความสว่างที่เกิดขึ้นมาข้างหน้า เข้าไป ในความสว่าง เมื่อเข้าไปรู้ในความสว่างแล้ว รู้สึกอย่างไร ? เข้าไปแล้วความสว่างกว้างขึ้น สว่างมากขึ้น ให้ ความรู้สึกตื่นตัวขึ้น จิตมีความใสขึ้นหรือตั้งมั่นขึ้น ก็รู้ตามนั้นให้ต่อเนื่องไป การกาหนดรู้เข้าไปดู ตรงนี้เขา เรียกว่า “ดูจิตในจิต” รู้ตามที่เขาเป็น
ขณะทเี่ รารขู้ า้ งหนา้ แลว้ มคี วามสวา่ งขนึ้ สวา่ งขนึ้ ... ตนื่ ตวั ขนึ้ อนั ทจี่ รงิ แลว้ คา วา่ “ตนื่ ตวั ขนึ้ ” เราจะ รู้สึกที่ไหน ? ไม่ใช่แค่ข้างหน้าที่มีความตื่นตัว อันที่จริงแล้วคาว่า “ตื่นตัว” นี่ก็ต้องมาดูที่รูปที่นั่งอยู่ด้วยว่า รูปที่นั่งอยู่หรือตัวที่นั่งอยู่ มีความรู้สึกว่าตัวเราตื่นขึ้นมา ยืดขึ้นมา ตั้งขึ้นมาด้วยไหม ? มีความรู้สึกมีความ ตงั้ มนั่ ตวั ตงั้ ตรง สตติ นื่ ตวั จติ ตนื่ ตวั ตวั กต็ นื่ ขนึ้ ตงั้ มนั่ ขนึ้ นงิ่ ขนึ้ รชู้ ดั ในอารมณท์ ปี่ รากฏขนึ้ มา ตรงทรี่ ชู้ ดั ในอารมณ์ที่ปรากฏเกิดขึ้นตรงนี้แหละประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ การที่เราดูเข้าไปในจิตแล้วมีความ ตื่นตัวขึ้นตั้งมั่นขึ้น สังเกตการเปลี่ยน เข้าไปกาหนดรู้อาการเปลี่ยน รอยต่อระหว่างความรู้สึกที่ตื่นตัว แต่ละขณะที่เข้าไป
ย้าว่าเป็นแต่ละขณะที่เข้าไป หมายถึงว่า เรามีสติเข้าไปกาหนดครั้งหนึ่ง ความตื่นตัวขยายขึ้นมา แลว้ กเ็ ขา้ ไปอกี ครงั้ หนงึ่ ความตนื่ ตวั ขยายขนึ้ ไปอกี กวา้ งขนึ้ อกี รอยตอ่ ระหวา่ งทเี่ ขาขยายแตล่ ะครงั้ นแี่ หละ ที่พึงสังเกตว่าเขามีอาการอย่างไร การที่เราจะสังเกตเห็นว่ารอยต่อนั้นเป็นอย่างไร คือสังเกตตัวจิตหรือตัว ความรู้สึกเองที่เข้าไปกาหนดรู้ ตัวจิตหรือตัวความรู้สึกเองที่เข้าไปกาหนดรู้มีอาการเข้าไป-นิ่ง-แล้วกว้างขึ้น หรือเข้าไป-นิ่งนิดหนึ่ง-แล้วดับไป แล้วจิตมีความสว่างมากขึ้น กว้างขึ้น จิตตื่นตัวมากขึ้น ตั้งมั่นขึ้น นั่นคือ การดูจิตในจิต ถ้าใครรู้สึกว่าเข้าไปกาหนดรู้แล้วเห็นการเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง ให้กาหนดรู้อาการแบบนี้ไป เรื่อย ๆ จนไม่มีการเปลี่ยนแปลง
การที่สังเกตว่าเขาดับไหม “ก่อน” ที่จะขยายขึ้นมา หรือ “ก่อน” จะเห็นอาการเกิดดับขณะต่อไป ถ้า เห็นดับ แล้วขณะต่อไปเขาต่างจากเดิมอย่างไร ? จุดที่เข้าไปกระทบถูกความสว่างแต่ละครั้งเขาดับอย่างไร กอ่ นทจี่ ะกวา้ งไป กวา้ งไป... เขาตา่ งจากเดมิ อยา่ งไร ? อนั นใี้ นกรณที เี่ ราเขา้ ไปกา หนดรคู้ วามรสู้ กึ ทสี่ วา่ ง หรอื เบา หรือสงบ หรือมั่นคง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้กาหนดรู้ในลักษณะเดียวกัน เพราะเป็นการเข้าไปกาหนด รู้สภาพจิตหรือดูที่ความรู้สึก อันนี้เขาเรียกว่าดูจิตในจิต เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะเป็นความสว่าง ความสงบ ความใส ความเบา ความมั่นคง ความตื่นตัว ให้สังเกตแบบเดียวกัน แต่ละครั้งที่เข้าไปนั้นเปลี่ยนอย่างไร
แตถ่ า้ ใครรสู้ กึ วา่ พอหลบั ตา ทา ใจใหส้ บาย ๆ วา่ ง ๆ แลว้ ขา้ งหนา้ มอี าการไหว ๆ ขนึ้ มา มแี สงขนึ้ มา ก็ให้มีสติเข้าไปกาหนดรู้อาการไหว ๆ หรืออาการวูบวาบข้างหน้า ลักษณะที่เป็นอาการไหว ๆ หรือวูบวาบ ขึ้นมาข้างหน้า ตรงนั้นเรียกว่าสภาวธรรมที่ปรากฏเกิดขึ้น โดยที่เราไม่ต้องปรุงแต่ง ไม่ต้องไปสร้าง แค่มี สติเข้าไปกาหนดรู้ดูว่าเขามีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร ให้ตามรู้จนอาการนั้นสิ้นสุดเช่นเดียวกัน นั่น คือการกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน แต่ถ้ารู้สึกว่าพอหลับตาแล้ว มีอาการเต้นของหัวใจ มีอาการกระเพื่อม ๆ ที่บริเวณหัวใจหรือที่ตัว เป็นเหมือนชีพจรเกิดขึ้น ก็ให้กาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์นั้นไป


































































































   79   80   81   82   83