Page 94 - วทยาศาสตรเพอพฒนาอาชพธรกจและบรการ
P. 94

90


               (ยางมะตอย) นํ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ เกิดร่วมกับหินตะกอนที่เกิดใน


               ทะเลเสมอ























                                               รูปที่ 5.1 ยุคไดโนเสาร์


                   กําเนิดนํ้ามันดิบ คือ หินตะกอนซึ่งเป็นหินที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูง


               โดยสารอินทรีย์ในชั้นหินตะกอนจะเกิดการสลายตัวแล้วเคลื่อนไปยังชั้น


               หินกักเก็บแทรกตัวเข้าไปอยู่ในรูพรุนของชั้นหิน  กักเก็บภายใต้ชั้นหินที่ไม่


               ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซซึมผ่านได้ ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา


               ของชั้นหินที่เหมาะสมจะเป็นแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม ได้แก่


                    1. ชั้นหินที่มีโครงสร้างรูปโค้งประทุนควํ่า (Anticine Traps) เกิดจาก


               การหักงอของชั้นหิน  ทําให้ชั้นหินมีรูปร่างโค้งคล้ายกระทะควํ่าหรือหลัง


               เต่า นํ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจะเคลื่อนเข้าไป  รวมตัวกันอยู่ในส่วนโค้ง


               ก้นกระทะโดยมีชั้นหินเนื้อแน่นปิดทับอยู่
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99