Page 22 - สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคใต้ ไตรมาส 1 ปี 2563 web 1
P. 22

สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคใต้

           วิถีใหมตองปรับตัว                                                                 เผยแพร่: 26 พ.ค. 2563
                                                                                                โดย: ผู้จัดการออนไลน์


           นายจางสงสัญญาณ
           ปริญญาตรีลาสมัย

           เสี่ยงตกงานเพิ่ม





                สภาองคกรนายจางเตือนตลาดแรงงานเตรียมเปลี่ยนแปลงครั้งใหญรับวิถีใหมหรือ  New  Normal  จากผลกระทบโควิด-19  จับตา
          ตลาดแรงงานใหม 6.34 แสนคน มี 63.2% จบปริญญาตรีในสาขาที่ลาสมัยไมตรงกับความตองการของตลาดเสี่ยงตกงานมากขึ้น เชนเดียวกับ
          แรงงานสูงวัยเปนเปาใหยื่นสมัครใจออกพุง หลังธุรกิจตองลดขนาดองคกรลง แรงงาน Gen Z จะเปนที่ตองการมากขึ้น


                นายธนิต โสรัตน รองประธานสภาองคการนายจางผูประกอบการคาและอุตสาหกรรมไทย เปดเผยวา จากผลกระทบไวรัสโควิด-19 จะทําให
          เกิดความปรกติใหมหรือวิถีใหม (New Normal) รูปแบบการดําเนินชีวิต, การทําธุรกิจ, การจางงานจะแตกตางไปจากเดิม โดยเฉพาะตลาดแรงงาน
          จะเปลี่ยนไปซึ่งเกี่ยวของกับสถานประกอบการ  ผูใชแรงงาน  ภาครัฐ  ที่ตองปรับตัวครั้งใหญ  โดยเฉพาะความทาทายของแรงงานใหมที่พึ่งจบการ
          ศึกษาในแตละปที่มีประมาณ  6.342  แสนคนสวนใหญจบปริญญาตรีในสาขาที่ตลาดไมตองการจะหางานยากขึ้นมากกวาเดิม  แมแตแรงงานที่กลับ
          เขาไปทํางานใหมหรือทํางานอยูแลว  ลวนมีความเสี่ยงจําเปนที่จะตองมีการปรับพฤติกรรม  ตลอดจนพัฒนาทักษะใหสามารถตอบโจทยกับการ
          เปลี่ยนแปลงดังกลาวใหได
                "ถือเปนความเสี่ยงของแรงงานที่จะมีมากขึ้น  ดังนั้นในเรื่องของการศึกษาตองเรงปรับใหเปนไปตามความตองการของตลาด  ขณะที่แรงงาน
          ทุกสวนไมวาจะเปนแรงงานใหม แรงงานวัยตอนตน แรงงานสูงวัยและแรงงานทุกกลุมสาขาอาชีพจะตองมีขีดความสามารถใหสามารถกาวผานชวง
          รอยตอของการฟนตัวจากการบอบชํ้าทางเศรษฐกิจจากวิกฤตโควิด-19 ไปสูเศรษฐกิจใหมซึ่งแตกตางไปจากเดิมอยางสิ้นเชิงใหได" นายธนิตกลาว
                ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานบนบริบทของ New Normal ที่สําคัญไดแก
                1. Business Downsize หรือการลดขนาดองคกรใหเล็กลง (โดยใชเทคโนโลยีกาวหนามากขึ้นและลดจํานวนแรงงานในสถานประกอบการ
          เปนทางเดินของธุรกิจที่เปนวิถีใหม ประกอบกับภัยคุกคามการจางงานจากการเรงตัวของเทคโนโลยีกาวหนาในรูปแบบตาง ๆ อยางรวดเร็วหรือ
          Disruptive Technology จะเขามาแทนที่การใชแรงงานมนุษย เชน หุนยนต ระบบเอไอ ฯลฯ
                2. Labour Demand Changing หรือตลาดแรงงานจะเปลี่ยนไป นายจางจะคัดกรองคนที่กลับเขาทํางานแมแตคนที่ทํางานอยูแลวอาจ
          ถูกลดขนาดภายใตโครงการสมัครใจลาออกในรูปแบบตางๆ โดยแรงงานสูงวัยจะเปนกลุมที่มีความเสี่ยงสูงมากขึ้น
                3. New Job Challenge ตลาดแรงงานใหมภายใตแพลตฟอรมดิจิทัล ทําใหมีอาชีพใหมที่ธุรกิจตาง ๆ จะเริ่มลดขนาดองคกรดวยการ
          กระจายตําแหนงงานไปใหฟรีแลนซและเอาทซอรซซึ่งไมตองมีสํานักงานในลักษณะ“non-office worker” เชน งานการตลาด, งานบัญชี, งานบริการ
          ลูกคา, งานปฏิบัติการ, งานที่เกี่ยวกับคลังสินคา และโลจิสติกส ฯลฯ
                4. Worth Returned Conceptual หรือแนวคิดความคุมคาและมีคาตอองคกร ผูที่จะอยูในตําแหนงงานไดอยางมั่นคงจนถึงวัยเกษียณ
          จะตองมีการปรับทัศนคติใหม นอกจากการเพิ่มผลิตภาพของตนเองที่ตองยกระดับใหมีความคุมคาและคุณคาตอองคกร ในอนาคตขนาดขององคกร
          จะเล็กลง หลายตําแหนงงานจะหายไป ทําอยางไรไมใหกลายเปนกลุมเสี่ยงที่จะตองถูกออกจากงานซึ่งจากนี้ไปจะเห็นการเรงตัวของ“New Normal
          Early Retire”
                5. First Labour Aged Demand หรือโอกาสของแรงงานวัยตอนตน เพราะพลวัตรตลาดแรงงานเปลี่ยนแปลงอยางสิ้นเชิงแรงงานใหม
          ตองสามารถตอบโจทยสภาวะแวดลอมธุรกิจการดําเนินชีวิตที่ไมเหมือนเดิมวัยแรงงานตอนตนยังมีความตองการสูงแมที่ผานมาแรงงานอายุ 18-29 ป
          ความตองการจางงานติดลบประมาณ -14.6% ก็ตาม
                6. Digital Platform Direction จะเปนทิศทางเดินของธุรกิจ ทั้งภาคผลิต, ภาคบริการ, คาสง-คาปลีก, โลจิสติกส ฯลฯ เปนจุดแข็งของ
          แรงงานตอนตนที่มาจากกลุมเจเนเรชั่นซีหรือ Gen Z มีความคุนเคยกับการใชเทคโนโลยีทําใหสามารถปรับตัวไดเร็วกวากลุมวัยอื่น
                7. Skill Change หรือการเปลี่ยนแปลงของทักษะใหม ซึ่งตรงกับความตองการของตลาดแรงงานที่ไมเหมือนเดิมแมแตแรงงานวัยตอนตน
          ลวนมีความเสี่ยงสะทอนจากแรงงานจบใหมระดับอุดมศึกษามีการวางงานสูงสัดสวนถึง  29.5%  ของผูวางงานทั้งหมด  ขณะเดียวกันแรงงานใหมที่
          เขาสูตลาดแรงงานสวนใหญ 63.2% จบปริญญาตรีในสาขาที่ลาสมัยไมตรงกับความตองการของตลาด โดยเฉพาะการดอยคุณภาพของแรงงานใหม

                "เราจะมาหวังวาเศรษฐกิจจะฟนตัวเร็วๆ  คงเปนไปไมไดเพราะการฟนตัวของเศรษฐกิจจะเปนแบบ  “U-Shaped  Discovery”  ซึ่ง
          เศรษฐกิจจะคอย ๆ ฟนตัว หลังคลายล็อกดาวนดานนายจางจะคัดกรองคนที่จะกลับเขามาทํางานตําแหนงที่ไมจําเปนจะไมเก็บไว ธุรกิจสวน
          ใหญจะลดขนาด เพราะดีมานดของตลาดยังไมกลับมา ตลาดแรงงานจะเปนของนายจางเนื่องจากตําแหนงงานที่จะจางนอยกวาคนที่ตองการ
          ทํางาน มนุษยเงินเดือนหลังยุค POST COVID-19 จึงตองปรับตัวครั้งใหญ" นายธนิตกลาว


       22
   17   18   19   20   21   22   23   24