Page 7 - สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคใต้ ไตรมาส 1 ปี 2563 web 1
P. 7

สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคใต้                                                                        ไตรมาส 1 ปี  2563


               จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ  หดตัวสูงขึ้นจากไตรมาสกอน  จากผลกระทบของการแพรระบาดของ  COVID-19  ทําให
         หลายประเทศใชมาตรการจํากัดการเดินทางระหวางประเทศโดยเฉพาะในชวงปลายไตรมาส  สงผลใหนักทองเที่ยวหดตัวในทุก
         สัญชาติ โดยเฉพาะนักทองเที่ยวจีนที่หดตัวกวารอยละ 60 อยางไรก็ดี นักทองเที่ยวรัสเซียหดตัวเพียงเล็กนอย โดยไดรับอานิสงส

         จากชวงตนไตรมาสที่ชาวรัสเซียเดินทางเขามาทองเที่ยวเปนจํานวนมาก
               การผลิตภาคอุตสาหกรรม  หดตัวนอยลงจากไตรมาสกอน  ตามการผลิตยางพาราแปรรูปและไมยางพาราแปรรูปและ
         ผลิตภัณฑที่ขยายตัวสอดคลองกับการสงออกในชวงตนไตรมาส  โดยเปนผลของปจจัยชั่วคราวจากคําสั่งซื้อที่เขามาในชวงปลายป
         2562 นอกจากนี้ การผลิตถุงมือยางเรงตัวตามความตองการจากตางประเทศเพื่อใชในการปองกันโรค ดานการผลิตอาหารทะเล
         กระปองหดตัวนอยลงตามการผลิตทูนากระปองที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การผลิตนํ้ามันปาลมดิบหดตัวตอเนื่องตามปริมาณวัตถุดิบ

         เขาโรงงาน  เชนเดียวกับการผลิตและสงออกอาหารทะเลแชเย็นแชแข็งและแปรรูปที่หดตัวตามความตองการจากตางประเทศที่
         ลดลงในชวงการแพรระบาดของ COVID-19 การผลิตที่ลดลงในหลายอุตสาหกรรมสอดคลองกับมูลคาการสงออกที่หดตัวตอเนื่อง
               การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน กลับมาหดตัวสูงจากไตรมาสกอน ตามการใชจายที่ลดลงในหลายหมวดสินคา โดยเฉพาะ
   ในเดือนมีนาคม สะทอนถึงกําลังซื้อและความเชื่อมั่นในการบริโภคของครัวเรือนที่ลดลงจากผลของการแพรระบาดของ COVID-19


         โดยเฉพาะการใชจายในภาคบริการของนักทองเที่ยวไทยที่หดตัวสูงในหลายจังหวัด  นอกจากนี้  การใชจายหมวดยานยนตหดตัว

   มากขึ้นตามยอดจดทะเบียนรถทุกประเภท  อยางไรก็ดี  การอุปโภคบริโภคกลุมสินคาในชีวิตประจําวันปรับตัวดีขึ้นเล็กนอยจาก
         ปจจัยชั่วคราวเรื่องการเรงซื้อจากความกังวลตอสถานการณการแพรระบาดของ COVID-19


 ภาวะเศรษฐกิจภาคใตไตรมาส  1  ป  2563  หดตัวมากขึ้นจากไตรมาสกอน  จากผล
 กระทบของการแพรระบาดของ COVID-19 โดยเฉพาะในชวงปลายไตรมาส ซึ่งสงผลกระทบ
 ตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทําใหกําลังซื้อตลอดจนอุปสงคทั้งในและตางประเทศลดลง สะทอน
 จากจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่หดตัวสูงจากไตรมาสกอน ขณะที่การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน
 หดตัวในเกือบทุกหมวดการใชจาย  โดยเฉพาะการใชจายภาคบริการของนักทองเที่ยวไทย

 ดานการลงทุนภาครัฐหดตัวนอยลงตามการเรงการเบิกจายหลังประกาศใช พ.ร.บ.งบประมาณ
 รายจายป 2563 ในชวงปลายเดือนกุมภาพันธ ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนทรงตัวในระดับตํ่า
 ในภาคเกษตร  ผลผลิตหดตัวตอเนื่องตามผลผลิตปาลมนํ้ามันที่ลดลงจากปริมาณนํ้าฝนที่นอย

 กวาคาเฉลี่ย  อยางไรก็ดี  การผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวนอยลงจากไตรมาสกอนตามคําสั่ง
 ซื้อยางพาราแปรรูปจากตางประเทศที่ขยายตัวในชวงตนไตรมาสเปนสําคัญ
 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟอทั่วไปติดลบมากขึ้น จากราคาอาหารสดที่
 ชะลอลงมา


               การลงทุนภาคเอกชน ทรงตัวในระดับตํ่า โดยมูลคาการนําเขาสินคาทุนหดตัวตอเนื่องตามการนําเขาเครื่องจักรและอุปกรณ
         ที่ลดลงในอุตสาหกรรมไมยางพาราแปรรูปและผลิตภัณฑ ดานยอดจดทะเบียนรถยนตบรรทุกสวนบุคคลกลับมาหดตัว อยางไรก็ดี
 รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคใต  เครื่องชี้การลงทุนในภาคการกอสรางขยายตัวได ตามการขยายตัวของพื้นที่อนุญาตการกอสรางและปริมาณการจําหนายปูนซีเมนต
 ผลผลิตเกษตร หดตัวใกลเคียงกับไตรมาสกอน โดยผลผลิตปาลมนํ้ามันหดตัวตอเนื่อง

 จากผลของปริมาณนํ้าฝนที่นอยกวา คาเฉลี่ยและผลของฐานสูงจากการเหลื่อมฤดูกาลในปกอน   สอดคลองกับการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพยที่ยังมีการขยายตัวของพื้นที่ที่อนุญาตการกอสรางเพื่อที่อยูอาศัย ทั้งบานเดี่ยว บานแฝด
         และอาคารชุด สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ผูประกอบการชะลอการเปดโครงการใหมในชวงระยะเดียวกันปกอน จากความกังวล
 ผลผลิตกุงขาวหดตัวมากขึ้นตามการลงลูกกุงที่ลดลงในชวงปลายป  2562  เนื่องจากสัญญาณ   เรื่องมาตรการ LTV ที่จะมีผลบังคับใชในวันที่ 1 เมษายน 2562 รวมถึงความกังวลตอภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้น อยางไรก็ตาม
 การบริโภคลดลงและราคาตํ่ากวาปกอน ขณะที่ผลผลิตยางพารากลับมาขยายตัวเล็กนอย ดาน   ความตองการซื้อที่อยูอาศัยชะลอตัวจากไตรมาสกอน
 ราคาสินคาเกษตร  ขยายตัวตอเนื่องจากไตรมาสกอน  จากราคาปาลมนํ้ามันที่เรงขึ้นมากเปน   การใชจายภาครัฐ หดตัวนอยลงจากไตรมาสกอน ตามการเรงเบิกจายหลังประกาศใช พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป

 สําคัญ ตามผลผลิตที่ลดลงและความตองการใชนํ้ามันปาลมผลผลิตไบโอดีเซล B10 ที่เพิ่มขึ้น   2563 ในชวงปลายเดือนกุมภาพันธ โดยการเบิกจายรายจายประจํากลับมาขยายตัวจากการเบิกจายในหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป
 ขณะที่ราคายางพาราและกุงขาวหดตัวตอเนื่องตามความตองการของตางประเทศที่ชะลอลง   ของมหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบการกํากับของรัฐบาล นอกจากนี้การเบิกจายรายจายลงทุนหดตัวนอยลง อยางไรก็ตาม รายจาย
 ในชวง  COVID-19  สําหรับรายไดเกษตรกรกลับมาขยายตัวจากไตรมาสกอนจากปจจัยดาน   ลงทุนในหมวดที่ดินและสิ่งกอสรางของหนวยงานราชการบางแหงยังคงหดตัวสูง  รวมถึงเงินอุดหนุนเฉพาะกิจของกรมสงเสริม
 ราคาเปนสําคัญ
         การปกครองทองถิ่นที่ลดลงในหลายจังหวัด

               เสถียรภาพเศรษฐกิจ  อัตราเงินเฟอทั่วไป  ติดลบมากขึ้นเล็กนอยมาอยูที่รอยละ  -0.31  ตามราคาพลังงานที่ยังคงปรับตัว
         ลดลง ซึ่งสอดคลองกับทิศทางราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก รวมถึงราคาอาหารสดชะลอลงมากจากไตรมาสกอน



 6                                                                    ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคใต  7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12