Page 10 - การสืบสวนสอบสวน
P. 10

๓




                            »ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ ÅѡɳРò ¡ÒÃÊ׺Êǹ º··Õè ñ ËÅÑ¡·ÑèÇä»
                            ¢ŒÍ ö  เมื่อกฎหมายใหอํานาจพนักงานฝายปกครองและตํารวจ  มีหนาที่รักษาความสงบ
                 เรียบรอยของประชาชน เชนนี้ ตํารวจจึงมีอํานาจและหนาที่สืบสวนคดีอาญา  และเหตุการณทั้งหลาย

                 ที่เกี่ยวแกความสงบเรียบรอยไดทั่วราชอาณาจักร
                            ฎีกาที่ ๔๗๑๑/๒๕๔๒ จําเลยที่ ๓ เปนเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ มีอํานาจ
                 จับกุมผูกระทําความผิดอาญาไดทั่วราชอาณาจักร แมขณะเกิดเหตุจําเลยที่ ๓ จะมีหนาที่ในการบรรเทา
                 สาธารณภัยก็ไมทําใหอํานาจที่จําเลยที่ ๓ มีอยูตามกฎหมายสูญสิ้นไป จําเลยที่ ๓ ยังคงมีอํานาจ

                 อยูโดยบริบูรณในฐานะเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาที่สืบสวนจับกุมผูกระทํา
                 ความผิดอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๒(๑๖) การที่จําเลยที่ ๓ จับกุมโจทก
                 โดยมิไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชากอนไมมีผลกระทบกระทั่งตออํานาจที่จําเลยที่ ๓ มีอยูแลวตาม

                 กฎหมาย
                            ฎีกาที่ ๑๒๕๙/๒๕๔๒   แมจาสิบตํารวจ  ส.เปนเจาพนักงานตํารวจประจําสถานี
                 ตํารวจนครบาลบางขุนเทียนก็ตาม แตตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๒ (๑๖) จาสิบตํารวจ ส.มีอํานาจและหนาที่
                 รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ทําการจับกุมปราบปรามผูกระทําผิดกฎหมายได และยังมี
                 อํานาจทําการสืบสวนคดีอาญาได ตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๑๗ อํานาจจับกุมผูกระทําผิดและสืบสวนคดีอาญา

                 ดังกลาวนี้ ไมมีบทบัญญัติกฎหมายใด  จํากัดใหปฏิบัติหนาที่ไดเฉพาะในเขตทองที่ที่เจาพนักงานตํารวจ
                 ผูนั้นประจําการอยูเทานั้น เจาพนักงานตํารวจดังกลาว  จึงมีอํานาจจับกุมผูกระทําผิดและสืบสวน
                 คดีอาญาไดทั่วราชอาณาจักร ดังนั้น จาสิบตํารวจ ส.ยอมมีอํานาจที่จะไปจับกุมจําเลยที่ ๑ ซึ่งมีที่อยูใน

                 เขตทองที่ สถานีตํารวจนครบาลวัดพระยาไกร ได เวนแตลักษณะการจับที่ไมมีหมายจับเปนไป
                 โดยมิชอบตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๗๘, ๘๑ และ ๙๒ หรือไมเทานั้น
                            แตเขตอํานาจการสืบสวนของพนักงานฝายปกครอง มีอํานาจสืบสวนในเขตอํานาจที่อยู
                 ในความรับผิดชอบเทานั้น  ถาเปนกํานัน ก็เฉพาะในเขตตําบลที่ตนมีเขตพื้นที่รับผิดชอบ ถาเปนผูใหญบาน

                 ก็เฉพาะในเขตหมูบานเทานั้น  เนื่องจากพนักงานฝายปกครองมีบทบัญญัติของพระราชบัญญัติลักษณะ
                 ปกครองทองที่ พ.ศ.๒๔๕๗ กําหนดเขตอํานาจหนาที่ไวโดยเฉพาะ
                            ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÅѡɳл¡¤Ãͧ·ŒÍ§·Õè ¾.È.òôõ÷

                            ÁÒμÃÒ ñð ผูใหญบานมีอํานาจหนาที่ปกครองบรรดาราษฎรที่อยูในเขตหมูบาน
                            ฎีกาที่ ๑๔๐/๒๔๙๐  ตํารวจมีอํานาจสืบสวนคดีอาญาไดทั่วราชอาณาจักร สวนพนักงาน
                 ฝายปกครองมีอํานาจสืบสวนไดอยางจํากัด เฉพาะในเขตทองที่ที่ตนประจําอยูเทานั้น


                 ñ.ó ¤Ø³ÊÁºÑμԢͧ¼ÙŒÊ׺Êǹ

                            การเปนนักสืบนั้นเปนไดทุกคนไมวาจะเปนราษฎรหรือตํารวจทุกชั้นยศ แตทุกคนควรรูถึง
                 เทคนิควิธีการในการสืบสวน การที่จะเปนนักสืบที่เกงหรือที่ดีมีประสิทธิภาพนั้นเปนเรื่องที่ยาก ตองมี
                 ความมานะอดทนและใชความพยายามสูง บางคดีตองอดทน บางคดีตองใชเวลาสืบสวนหารองรอย

                 เปนระยะเวลานานมาก สําหรับคุณสมบัติของนักสืบที่ดีจึงควรยึด ËÅÑ¡ ø Ã. คือ “ÃÑ¡ ÃͺÃÙŒ ÃÔàÃÔèÁ ÃÇ´àÃçÇ
                 Ãͺ¤Íº ÃѺ¼Ô´ªÍº äÌËͧÃÍ àÃ×èͧËҧ¡Ò”  ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15