Page 23 - การสืบสวนสอบสวน
P. 23

๑๖




                        ñô. à¡çºÃǺÃÇÁ¢ŒÍÁÙŢͧ¡ÒáÃÐทํา¼Ô´ ¤¹¼Ô´ ¡ÒÃÊ׺ÊǹÊͺÊǹ änj໚¹á¿‡Á¤´Õ
              Ê׺ÊǹÍ‹ҧ໚¹Ãкº

                               ๑. เพื่อสืบสวนคดีตอใหสําเร็จ
                               ๒. เพื่อศึกษาวิเคราะหคดีอาชญากรรมและบันทึกแนวทางสืบสวนไวเปนกรณีศึกษา

              ตอไป
                        ñõ. ¹íÒ¢ŒÍÁÙÅÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¨Ò¡á¿‡Á¤´ÕÊ׺Êǹä»ãªŒ»ÃÐ⪹  ในการเพิ่มประสิทธิภาพ

              การปองกันปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนใหมากยิ่งขึ้น
              ตอไป



              ñ.ö ¡ÒÃÊͺÊǹ

                        »ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇÔ¸Õ¾Ô¨ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ ÁÒμÃÒ ò
                        (๑๑) “การสอบสวน หมายความถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการ

              ทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ ซึ่งพนักงานสอบสวนไดทําไปเกี่ยวกับความผิด

              ที่กลาวหาเพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือการพิสูจนความผิด  และเพื่อจะเอาตัวผูกระทําผิด
              มาฟองลงโทษ”
                        การสอบสวนจะมีไดเฉพาะกรณีหลังกระทําผิดเทานั้น เพราะกฎหมายบัญญัติคํานิยาม

              ขางตนวาเปนการรวบรวมพยานหลักฐานดําเนินการทั้งหลายอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนไดทําไป
              เกี่ยวกับความผิดที่กลาวหา ดังนั้น หากยังไมมีการกลาวหา กลาวคือ ยังไมมีคํารองทุกขหรือ

              คํากลาวโทษ พนักงานสอบสวนไมมีอํานาจสอบสวน และเมื่อพนักงานสอบสวนไมมีอํานาจสอบสวน
              พนักงานอัยการก็ไมมีอํานาจฟองคดีตอศาลเพราะกฎหมายหามมิใหพนักงานอัยการยื่นฟองคดีใด

              ตอศาล โดยมิไดมีการสอบสวนในความผิดนั้นกอนซึ่งแตกตางจากการสืบสวน ซึ่งมิไดทั้งกอนการ
              กระทําผิดและหลังกระทําผิด โดยที่กรณีกอนการกระทําผิดเปนการทําไปเพื่อรักษาความสงบเรียบรอย

              เชน การสงรถตํารวจสายตรวจออกพื้นที่หาขาวและปองกันปราบปรามจับกุมผูกระทําผิดซึ่งหนา เปนตน
                        คํารองทุกข ไดแก การที่ผูเสียหายไดกลาวหาตอเจาหนาที่ตามบทบัญญัติแหงประมวล

              กฎหมายนี้ วามีผูกระทําความผิดขึ้น จะรูตัวผูกระทําความผิดหรือไมก็ตาม ซึ่งกระทําใหเกิดความ
              เสียหายแกผูเสียหาย และการกลาวหาเชนนั้นไดกลาวโดยมีเจตนาจะใหผูกระทําความผิดไดรับโทษ

                        คํากลาวโทษ ไดแก การที่บุคคลอื่นซึ่งไมใชผูเสียหายไดกลาวหาตอเจาหนาที่ วามีบุคคล
              รูตัวหรือไมก็ดี ไดกระทําความผิดอยางหนึ่งขึ้น

                        ผูมีอํานาจสอบสวนคดีอาญา กฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนเทานั้น
              ซึ่งไดแก พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ ปลัดอําเภอ และขาราชการตํารวจซึ่งมียศตั้งแตชั้น

              นายรอยตํารวจตรี หรือเทียบเทานายรอยตํารวจตรีขึ้นไป มีอํานาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งไดเกิด
              หรืออาง หรือเชื่อวาไดเกิดภายในเขตอํานาจของตน หรือผูตองหามีที่อยู หรือถูกจับภายในเขตอํานาจ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28