Page 7 - วารสารน้ำตาลสัมพันธ์-2
P. 7

หน้า  6                                                                                                                                                  หน้า  7





 งานประชุมใหญ่ ชาวไร่อ้อยประจำาปี 2560                                                งานไหว้อุ่นเตา บริษัท น้ำาตาลสุรินทร์ จำากัด



                                                                                          เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นก่อนที่จะถึงเวลาเปิดหีบหรือก่อนเข้าสู่ช่วงผลิต หรือเรียก
                                                                                   ว่าการวอร์มเตา บริษัทของเราจะมีการจัดกิจกรรมแบบนี้ทุกปีก่อนที่จะถึงฤดูการเปิดหีบ


    บริษัทน้ำาตาลสุรินทร์จำากัดได้จัดกิจกรรมการประชุมใหญ่ชาวไร่อ้อย พ.ศ            หรือฤดูการผลิตนั้นเอง บางครั้งหลายคนอาจจะมองว่าเป็นความเชื่อ ใช่ครับบางครั้งสิ่ง
 2560 วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวไร่อ้อยให้         เหล่านี้ก็เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมานานถูกปลูกฝังมาตั้งแต่ยังเด็ก้นั้นคือความให้มีความ

 มีธาณะการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และเป็นศูนย์กลางการประสานงานในมวลหมู่ และ เป็นโอกาสดีที่  เชื่อและความศรัทธา “พูดมาถึงขนาดนี้แล้วเดียวเราจะพาไปทำาความเข้าใจเกี่ยวกับความ

 สมาชิกชาวไร่อ้อยต่างก็ได้แลกเปลี่ยนความรู้ควาคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นศูนย์ข้อมูลทาง  เชื่อและความศรัทธากันนะครับ”
 วิชาการ รวมถึงได้มีบทบาทร่วมกับภาครัฐ องค์กรเอกชน มูลนิธิ และสถาบันต่างๆ เป็น            ความเชื่อเป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ และถือว่าเป็นวัฒนธรรมของมนุษย์

 ตัวแทนในการเจรจาทำาความตกลงเพื่อประโยชน์ของพี่น้องชาวไร่อ้อยให้สามารถดำาเนินการ      อย่างหนึ่ง การดำารงชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณที่มีความเจริญทางด้านวิชาการ

                                                                                   น้อย ความเชื่อจึงเกิดจากการเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่มนุษย์เชื่อว่า

    การจัดงานในครั้งนี้มีประชาชนที่ปลูกอ้อยชาวไร่อ้อยมาร่วมในงานจำานวนมาก          เป็นการบันดาลให้เกิดขึ้นจากอำานาจของเทวดา พระเจ้า หรือภูตผีปีศาจ ดังนั้นเมื่อเกิด
 บรรยากาศภายในงานเป็นไปอย่างครึกครื้น และ เต็มไปด้วยความสนุกสนานมีทั้งการมอบ       ปรากฏการณ์ต่างๆ ขึ้น เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย

 รางวัล การจับฉลาก และมีบูธอีกมากมายทั้งบูธขายอาหารและบูธเครื่องจักรการเกษตร       และวาตภัย ต่างๆ ขึ้น ล้วนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อชีวิตหรือความเป็นอยู่ของมนุษย์ ซึ่ง

 และทำาให้ชาวไร่ที่มาได้แลกเปลี่ยนความคิดความรู้แชร์ประสปการณ์ให้กันและกัน ทำาให้การจัด     ยากที่จะป้องกันหรือแก้ไขได้ด้วยตัวเอง บางอย่างเป็นเหตุการณ์ที่อำานวยประโยชน์ แต่บาง
 กิจกรรมในครั้งนี้สนุกสนานและครึกครื้นเป็นอย่างมาก                                 เหตุการณ์ก็เป็นอันตรายต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มนุษย์จึงพยายามที่จะคิดหา

                                                                                   วิธีการที่จะก่อให้เกิดผลในทางที่ดี และเกิดความสุขให้กับตนเอง เพื่อกระทำาต่อสิ่งที่มีอำานาจ
                                                                                   เหนือธรรมชาติเหล่านั้น ทำาให้เกิดเป็นแนวทางปฏิบัติที่เป็นพิธีกรรม หรือศาสนาเกิดขึ้น

                                                                                          คำาว่า “ความเชื่อ” มีความหมายอยู่หลายความหมาย นักวิชาการและผู้รู้ได้ให้

                                                                                   ความหมายของความเชื่อไว้ในแง่มุมต่างๆ ดังนี้ ความเชื่อ คือ การยอมรับว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

                                                                                   เป็นความจริงหรือเป็นสิ่งที่เราไว้ใจ ความจริงหรือความไว้วางใจที่เป็นรูปของความเชื่อนั้น
  ความ สำาคัญของการเปิดหีบอ้อยที่มีต่อความหวังของเพื่อนมิตร
                                                                                   ไม่จำาเป็นว่าจะต้องเป็นความจริงที่ตรงตามหลักเหตุผลหรือหลักวิทยาศาสตร์ใดๆ คนที่
 ชาวไร่ จึงจัดให้มีพิธีนิมนต์พระสงฆ์มาทำาพิธีทางศาสนา ในช่วงที่โรงงานกำาลังเริ่มเดิน
                                                                                   เชื่อในฤกษ์ยามก็จะถือว่า วันเวลาการโคจรของดวงดาวจะก่อให้เกิดผลต่อตัวมนุษย์ คนที่
 เครื่องจักร ก่อนจะให้มีการประเดิมโยนอ้อยเข้าไปในหีบอ้อย โดยแต่ละโรงงานน้ำาตาลมี
                                                                                   เชื่อเครื่องรางของขลังก็จะมีความยึดมั่นว่า เครื่องรางของขลังให้คุณให้โทษแก่ตนได้จริง
 ช่วงเปิดหีบอ้อยไม่ตรงกัน ยึดตามความเหมาะสมของผลผลิตในแต่ละพื้นที่ ส่วนใหญ่  วารสาร น้าตาลสัมพันธ์ ์ ผลิตโดย ฝ่ายรัฐกิจสัมพันธ์และภาพลักษณ์องค์กร บริษัท น้าตาลสุรินทร์ จากัด อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ วารสาร น้าตาลสัมพันธ์ ์ ผลิตโดย ฝ่ายรัฐกิจสัมพันธ์และภาพลักษณ์องค์กร บริษัท น้าตาลสุรินทร์ จากัด อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ วารสาร น้าตาลสัมพันธ์ ์ ผลิตโดย ฝ่ายรัฐกิจสัมพันธ์และภาพลักษณ์องค์กร บริษัท น้าตาลสุรินทร์ จากัด อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
                                                                                   ตัวอย่างของความเชื่อ ได้แก่ ไสยศาสตร์ โหราศาสตร์ โชคลาง ของขลัง ผีสาง นางไม้
 จะอยู่ช่วงปลายปีประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ซึ่งแต่ละโรงหีบอ้อย
                                                                                   ความเชื่ออำานาจลึกลับ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เหล่านี้เป็นต้น
 จะเชิญแขกผู้มีเกียรติ ผู้หลักผู้ใหญ่ของท้องถิ่น มาเป็นผู้ประเดิมโยนอ้อยเข้าหีบคน
                                                                                          “ศรัทธา”เป็นความเชื่อมั่นที่เพียบพร้อมไปด้วยความรู้ที่แท้จริง หมายถึง ใน
 แรก เพื่อเป็นการเอาฤกษ์เอาชัยและสร้างขวัญกำาลังใจต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ
                                                                                   แต่ละความเชื่อศรัทธาต้องผ่านการวิเคราะห์ มีการพิสูจน์อย่างมีเหตุผล ให้เป็นไปตาม
 งานอ้อยทั้งหมด ตั้งแต่ต้นทางอย่างมิตรชาวไร่อ้อยจนถึงปลายทางอย่างผู้ประกอบ
                                                                                   กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้งทางจิตและกายภาพ เรียกว่า ความศรัทธาที่แท้จริง
 การ ให้ทุกคนประสบแต่ความราบรื่น ร่ำารวย และพร้อมจะก้าวไปในฤดูกาลต่อไปพร้อม
                                                                                   ศรัทธาของเรามีอิทธิพลแทบทุกด้านในชีวิตเรายังพยายามนำา์มาใช้ที่บ้าน ที่ทำางาน และใน
 ๆ กันอย่างมั่นคงและได้ปฎิบัติอย่างนี้ทุกปี จนกลายเป็นประเพณีขององค์กร เราจะมา

                                                                                   ชุมชนของเราเช่นกัน
 ทำาความรู้จักกับคำาว่าประเพณีกัน
    ประเพณีน้ีเกิดจากความเชื่อ อาจเป็นความเชื่อในสิ่งที่มีอำานาจเหนือมนุษย์ เช่น

 อำานาจของดินฟ้าอากาศหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ประเพณีมัก

 เริ่มที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่งก่อนและได้ปัฎิบัติสืบต่อกันไปจนถึงคนรุ่นหลัง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12