Page 12 - dinosaurst
P. 12

เซอรำโตซอรัส (อังกฤษ: Ceratosaurus - กิ้งก่ามีเขา) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อ

              (เทอโรพอด) ช่วงปลายยุคจูแรสสิค มีความใกล้ชิดกับสายพันธุ์ของอัลโลซอรัส แต่ขนาดตัว


              เล็กกว่าครึ่งหนึ่ง ความยาวล าตัวประมาณ 6 เมตร แต่จากการค านวณคาดว่า ตัวโตที่สุดอาจ


              ยาวได้ 8.8 เมตร มีลักษณะ คล้ายอัลโลซอรัส แต่มีส่วนหัวที่โตกว่าเมื่อเทียบกับสัดส่วนล าตัว

              แขนสั้นและเล็กมี 4 นิ้วไม่น่าใช้เป็นอาวุธได้ และมีเขายื่นออกมาจากเหนือจมูกและดวงตา เป็น


              เอกลักษณ์และที่มาของชื่อ "กิ้งก่ามีเขา"ของมัน แต่เขาของซีราโตซอรัส เป็นแผ่นกระดูกบางๆ

              ไม่แข็งแกร่งพอจะเอาไปใช้เป็นอาวุธได้ จึงมีการตั้งข้อสังเกตว่า เขาของมันน่าจะมีไว้เพื่อดึงดูด


              ตัวเมียฟันของของเซอราโตซอรัสยาวมากเมื่อเทียบกับขนาดล าตัว แต่แบนและบางกว่า นักล่า


              ยุคเดียวกัน เหมาะกับการตัดเนื้อกิน แต่ไม่สามารถบดกระดูกได้ ท าให้คาดได้ว่า เหยื่อของมัน

              น่าจะเป็นไดโนเสาร์กินพืชขนาดกลาง ที่ฉีกเนื้อกินได้ง่ายกว่าบวกกับการศึกษาที่พบฟอสซิล


              เชื่อว่า เซอราโตซอรัสมักจะล่าเหยื่อในป่าทึบ ตามล าพังคล้ายๆกับ เสือดาว แม้จะมีขนาดตัว

              เล็กกว่านักล่าอื่นๆ แต่ก็มีร่างกายแข็งแกร่ง และ ปราดเปรียว จัดได้ว่าเป็นนักล่าตัวยงอีกสาย


              พันธุ์หนึ่ง



















                             ไซคำเนีย (อังกฤษ: Saichania) เป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนิดหนึ่ง ชื่อของมันมี


              ความหมายว่าสวยงาม อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย ตรงที่หางคล้ายมีกระบองติดอยู่

              กระบองใช้เป็นอาวุธฟาดศัตรู สาเหตุที่มันได้ชื่อว่างดงามเป็นเพราะฟอสซิลของมันอยูในสภาพ


              สมบูรณ์มาก ยาวประมาณ 7 เมตร กินพืชเป็นอาหาร ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี


              ค.ศ. 1977




























                                                                         11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17