Page 156 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 156
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับที่มีศักยภาพในเชิงการตลาด
2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาปทุมมาและกระเจียวเพื่อการค้า
3. ชื่อการทดลอง การใช้วิธีการจัดการดินร่วมกับการใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุม
โรคเหี่ยวของปทุมมา
Controlling of Bacterial Wilt Disease of Siam Tulip caused by
Ralstonia solanacearum by Soil Amendment and Antagonistic
Bacteria
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน บูรณีััพั่ววงษ์แพทย์ ณัฎฐิมาััโฆษิตเจริญกุล
รุ่งนภาััทองเคร็ง ทิพวรรณัักันหาญาติ
1/
1/
กาญจนาััศรีไม้
1/
5. บทคัดย่อ
การทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการจัดการดินร่วมกับแบคทีเรียปฏิปักษ์ัBacillus subtilis ในการ
ควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมา ที่มีสาเหตุจากเชื อแบคทีเรียัRalstonia solanacearumัท้าการทดลอง
ในสภาพแปลงปลูกที่อ้าเภอท่าม่วงัจังหวัดกาญจนบุรีัในปีั2559ัถึงัปีั2560 วางแผนการทดลองแบบัRCB
มีั4 ซ ้า 6 กรรมวิธี โดยการจัดการดินด้วยยูเรียและปูนขาวอัตราั80ั:ั800ักิโลกรัมต่อไร่ัการจัดการดิน
ด้วยคลอรีนผงัอัตราั80ักิโลกรัมต่อไร่ัการใช้ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-DOA 108ัและัBS-DOA 114
แช่หัวพันธุ์ก่อนปลูกและรดด้วยอัตราั50 กรัมต่อน ้าั20 ลิตรทุกั30ัวันัการจัดการดินด้วยยูเรียและปูนขาว
ร่วมกับ การใช้ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-DOA 108ัและัBS-DOA 114ัการจัดการดินด้วยคลอรีนผง
ร่วมกับัการใช้ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-DOA 108ัและัBS-DOA 114ัและการไม่จัดการดินและไม่ใช้
B. subtilis เป็นกรรมวิธีเปรียบเทียบัผลการทดสอบพบว่า การจัดการดินด้วยยูเรียและปูนขาวัร่วมกับ
การใช้ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-DOA 108ัและัBS-DOA 114ัสามารถควบคุมโรคเหี่ยวได้ดีที่สุด
โดยปทุมมาเป็นโรคเหี่ยวั28.13ัและั9.38 เปอร์เซ็นต์ ในปีที่ั1 และั2ัส่วนกรรมวิธีเปรียบเทียบปทุมมา
เป็นโรคเหี่ยวั82.50 และั45.60ัเปอร์เซ็นต์ัในปีที่ั1 และั2ัตามล้าดับ
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ั
น้าวิธีการจัดการดินโดยใช้ัยูเรียั80ักิโลกรัมต่อปูนขาวั800ักิโลกรัมต่อไร่ัร่วมกับการใช้เชื อ
แบคทีเรียปฏิปักษ์ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-DOA 108ัและัแบคทีเรียปฏิปักษ์ัB. subtilis สายพันธุ์ัBS-
DOA 114ัแช่หัวพันธุ์ปทุมมาก่อนปลูกัและรดด้วยอัตราั50 กรัมต่อน ้าั20 ลิตร ทุกั30ัวันัซึ่งเป็นกรรมวิธี
ที่สามารถควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมาได้ดีที่สุดัไปใช้ในงานทดลองการจัดการโรคเหี่ยวของปทุมมาในแปลง
เกษตรกรโดยวิธีผสมผสานต่อไป
______________________________________
1/ ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
138