Page 178 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 178
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสง
2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์และเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสง
3. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร: พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูง
ชุดที่ 1
Farm Trial: Medium Seed Size Peanut Lines for High Yield
Group 1
1/
2/
4. คณะผู้ด าเนินงาน วรยุทธ ศิริชุมพันธ์ สมใจ โค้วสุรัตน์
3/
นภาพร ปัญญาชัย สุทธิดา บูชารัมย์ 4/
4/
สุทธินันท์ ประสาธน์สุวรรณ์ วสันต์ วรรณจักร 5/
ทวีพงษ์ ณ น่าน ศิริรัตน์ เถื่อนสมบัติ 7/
6/
1/
กมลวรรณ เรียบร้อย รวีวรรณ เชื อกิตติศักดิ์
1/
5. บทคัดย่อ
การทดลองนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหาพันธุ์ถั่วลิสงขนาดปานกลางที่ให้ผลผลิตสูงกว่า
พันธุ์รับรองเดิม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block 4 ซ า ประกอบด้วย 7 พันธุ์ต่อ
สายพันธุ์ ด าเนินการทดลองในไร่เกษตรกรที่เป็นแหล่งปลูกถั่วลิสงที่ส าคัญทั งในฤดูแล้งและฤดูฝน ระหว่างปี
2559 ถึง ปี 2560 ผลการทดลอง พบว่า น าหนักฝักแห้ง และน าหนักเมล็ดของแต่ละพันธุ์มีค่าแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ระหว่างสถานที่ และพันธุ์ ตลอดจนพบปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์กับสถานที่
โดยพันธุ์ไทนาน 9 ให้น าหนักฝักแห้ง และให้น าหนักเมล็ดเฉลี่ยสูงสุด คือ 233 และ 153 กิโลกรัมต่อไร่
ตามล าดับ รองลงมา คือ พันธุ์ขอนแก่น 5 ที่ให้น าหนักเป็น 229 และ 147 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ
และพันธุ์ไทนาน 9 ให้จ านวนฝักและ เปอร์เซ็นต์กะเทาะสูงสุด คือ 26 ฝักต่อหลุม และ 67.5 เปอร์เซ็นต์
ตามล าดับ ส่วนพันธุ์ขอนแก่น 84-7 ให้น าหนัก 100 เมล็ดสูงสุด 56.4 กรัม
จากการเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร: พันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อผลผลิตสูงชุดที่ 1 พบว่า
พันธุ์ไทนาน 9 และพันธุ์ขอนแก่น 5 ยังเป็นพันธุ์รับรองที่เหมาะสมกับการปลูกในไร่เกษตรกร
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
พันธุ์ไทนาน 9 และพันธุ์ขอนแก่น 5 เป็นพันธุ์รับรองที่เหมาะสมกับการปลูกในไร่เกษตรกร
_____________________________________
1/
ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น
2/
ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี
3/
ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่
4/
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรบุรีรัมย์
5/
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์
6/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรน่าน
7/
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสกลนคร
160