Page 249 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 249
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีผลกระทบต่อการผลิตพืช
2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาวอเตอร์ฟุตพริ นท์ของการผลิตพืชเศรษฐกิจ
3. ชื่อการทดลอง การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ นท์ของมันส าปะหลังที่มีการจัดการน าแตกต่างกัน
Cassava Water Footprint Assessment in Varies Water Practices
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน วลัยพร ศะศิประภา จิณณจาร์ หาญเศรษฐสุข 2/
กุสุมา รอดแผ้วพาล 2/ ดรุณี เพ็งฤกษ์ 3/
4/
เสาวรี บ ารุง วารีย์ เวรวรณ์ 5/
6/
สายน า อุดพ้วย อนุสรณ์ เทียนศิริฤกษ์ 6/
สุวลักษณ์ อะมะวัลย์
2/
5. บทคัดย่อ
น าเป็นทรัพยากรที่มีความส าคัญยิ่ง การให้น าในมันส าปะหลังมีความต้องการเพิ่มขึ นเรื่อยๆ
อาจเป็นความเสี่ยงหากไม่มีจัดการที่มีประสิทธิภาพ วอเตอร์ฟุตพริ นท์เป็นเครื่องชี วัดการใช้น าทั งทางตรง
และทางอ้อม โดยค านวณปริมาณน าจากทุกขั นตอนตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้า จึงน ามาใช้ในการ
วางแผนจัดการน าและลดขนาดฟุตพริ นท์น าของมันส าปะหลังในสภาพเงื่อนไขที่มีการจัดการน าแตกต่างกัน
โดยแยกตามระดับพื นที่ที่ให้น าได้แตกต่างกัน 3 ระดับ คือ ให้น าได้ไม่จ ากัด (นครราชสีมา) ให้น าจ ากัด
(ก าแพงเพชร) และอาศัยน าฝน (ระยอง) ค านวณวอเตอร์ฟุตพริ นท์ของมันส าปะหลังหัวสด 1 ตันจาก 2 รอบ
การผลิต ระหว่างปี 2558 ถึง ปี 2560 พบว่า คาเฉลี่ยของวอเตอรฟุตปริ นระหว่าง 147 ถึง 366 คิว โดย 48 ถึง 87
เปอร์เซ็นต์ เป็นกรีนวอเตอร์หรือมีขนาด ระหว่าง 92 ถึง 339 คิว 0 ถึง 9 เปอร์เซ็นต์ เป็นบลูวอเตอร์มีขนาด 0 ถึง 21
คิว และ 13 ถึง 48 เปอร์เซ็นต์ เป็นเกรย์วอเตอร์มีขนาด 29 ถึง 97 คิว โดยแยกพื นที่ที่ให้น าได้ไม่จ ากัดวอเต
อรฟุตปริ นเฉลี่ย 211 คิว ส่วนพื นที่ให้น าจ ากัด และพื นที่อาศัยน าฝน มีขนาดเฉลี่ย 224 และ 301 คิว ตามล าดับ
ผลผลิตที่สูงให้ขนาดของวอเตอรฟุตปริ นต่ า การให้น าถูกจังหวะตามความต้องการช่วยให้ผลผลิตสูงขึ น
พันธุ์และช่วงปลูกมีผลให้ขนาดวอเตอรฟุตปริ นแตกต่างกันถึงแม้จะปลูกในพื นที่เดียวกัน การปลูกในช่วง
ปลายฝนมีปริมาณน าฝนไม่เพียงพอต่อความต้องการของมันส าปะหลัง ต้องให้น าในพื นที่ที่มีน าต้นทุนจ ากัด
ต้องให้ในจ านวนที่เหมาะสมร่วมกับการเลือกช่วงปลูกให้เหมาะสม หลีกเลี่ยงการปลูกในช่วง มิ.ย.
ท าให้น าฝนไม่เพียงพอกับความต้องการของพืชในช่วงที่พืชก าลังสะสมน าหนัก ส าหรับพื นที่อาศัยน าฝนการ
ปลูกในเดือน พ.ย. ท าให้เกิดขาดน าในช่วงอายุ 3 ถึง 5 เดือนมากกว่าการปลูกในช่วงม.ค. และหากเลือกพันธุ์
ที่เหมาะสมจะท าให้ผลผลิตเพิ่มขึ น
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
-
________________________________________
1/ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2/ ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง
3/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร
4/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา
5/ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
6/ กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการเผลิตทางการเกษตร
231