Page 266 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 266
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาการผลิตพืชเศรษฐกิจเฉพาะพื นที่ในเขตภาคเหนือ
ตอนล่าง
2. โครงการวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใบตองกล้วยตานี
3. ชื่อการทดลอง การยืดอายุการเก็บรักษาใบตองกล้วยตานี
Shelf Life Extension of ‘Tanee’ Banana Leaves
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน ปรางค์ทอง กวานห้อง ศิรกานต์ ศรีธัญรัตน์
1/
คมจันทร์ สรงจันทร์ อรณิชชา สุวรรณโฉม 2/
5. บทคัดย่อ
ใบตองหรือใบของกล้วย มีการน ามาใช้งานอย่างแพร่หลายทั งในรูปแบบของภาชนะบรรจุอาหาร
งานประดิษฐ์และตกแต่ง อย่างไรก็ตาม ใบตองยังมีปัญหาในเรื่องการสูญเสียคุณภาพและความสด จึงส่งผลให้
มีอายุการใช้งานสั น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่ออายุการเก็บรักษาของใบตองมีหลายปัจจัย ซึ่งฤดูกาลเก็บเกี่ยวบรรจุ
ภัณฑ์ และอุณหภูมิที่ใช้ในการเก็บรักษาเป็นอีกปัจจัยส าคัญที่สามารถส่งผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา
ของใบตองสดได้ ดังนั น วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั งนี จึงเป็นการศึกษาเพื่อหาวิธีการยืดอายุการเก็บรักษา
ของใบตองพันธุ์ตานีโดยในปี 2559 เป็นการศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออายุการเก็บรักษาใบตองกล้วยตานี
ท าโดยการน าใบตองสดที่เก็บเกี่ยวในแต่ละฤดูกาล (หนาว ร้อน และฝน) มาคัดคุณภาพ ท าความสะอาด
ก่อนพับเป็นทบแล้วบรรจุในตะกร้าพลาสติก หลังจากนั น น าไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2 5 10 15
องศาเซลเซียส และอุณหภูมิแวดล้อม และในปี 2560 ศึกษาผลของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพการเก็บรักษา
ใบตองกล้วยตานีโดยการน าใบตองสดที่เก็บเกี่ยวในฤดูหนาว ฤดูร้อนและฤดูฝน มาคัดคุณภาพและท าความ
สะอาดก่อนพับเป็นทบแล้วบรรจุในบรรจุภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ คือ 1) ไม่บรรจุถุง 2) บรรจุถุงพลาสติกชนิดพอลิโพร
ไพลีน (PP) และ 3) บรรจุถุงพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีน (PE)ก่อนน าไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส
ต่อมาท าการทดลองเพิ่มเติมในช่วงการเก็บเกี่ยวฤดูร้อนและฤดูฝน โดยน าใบตองสดที่ผ่านการท าความสะอาด
แล้วมาพับเป็นทบและบรรจุในบรรจุภัณฑ์แบบต่าง ๆ คือ1) ถุง PP ไม่เจาะรู 2) ถุง PP ที่เจาะรูขนาดรูเข็ม
จ านวน 4 รู 3) ถุง PP ที่เจาะรูขนาดรูเข็ม จ านวน 16 รู และ 4) ถุง PP ที่เจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
0.5 เซนติเมตร จ านวน 16 รู ก่อนเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ซึ่งผลการทดลองพบว่า
การใช้อุณหภูมิต่ าในการเก็บรักษาใบตองสดมีส่วนช่วยลดการสูญเสียน าหนัก ชะลอการเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
ของใบ คงสภาพความสด และยืดอายุการเก็บรักษาได้ดีกว่าอุณหภูมิเก็บรักษาที่สูงขึ น โดยอุณหภูมิ
ที่เหมาะสมส าหรับเก็บรักษาใบตองกล้วยตานีในการทดลองนี คือ 5 องศาเซลเซียส เนื่องจากช่วยให้เก็บรักษา
ใบตองสดได้นานที่สุดโดยคุณภาพยังเป็นที่ยอมรับ ทั งนี การเก็บที่อุณหภูมิต่ าเกินไป (2 องศาเซลเซียส)
ใบตองมีการเกิดสีน าตาลบนผิวใบท าให้คุณภาพไม่เป็นที่ยอมรับ และมีอายุการเก็บรักษาที่สั นกว่า นอกจากนี
ฤดูกาลเก็บเกี่ยวที่ต่างกันส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของใบตองสดด้วย
เช่นกัน โดยใบตองที่เก็บเกี่ยวในฤดูหนาว ของปี 2559 สามารถเก็บรักษาได้นานที่สุดถึง 30 วัน ที่อุณหภูมิ
5 องศาเซลเซียส และในการเก็บรักษาใบตองสดที่เก็บเกี่ยวช่วงฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ของปี 2560
_____________________________________
1/ กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร
2/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย
248