Page 273 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 273
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย การทดสอบและพัฒนาการผลิตพืชสวนและสมุนไพรในพื นที่ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบน
2. โครงการวิจัย การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชผักปลอดภัยพื นที่ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบน
3. ชื่อการทดลอง การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตคะน้าปลอดภัยจังหวัดหนองบัวล าภู
Testing of Safe Kale Production Technologies Nong Bua
Lamphu Province
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน รพีพร ศรีสถิตย์ วิมลรัตน์ ด าข า
1/
จารุพงศ์ ประสพสุข คมกฤช ศรีอาจ 2/
1/
อิศเรส เทียนทัด หัทยา พรมโต 4/
3/
5. บทคัดย่อ
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตคะน้าปลอดภัยจังหวัด หนองบัวล าภู มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหา
สารพิษตกค้างในพืชผัก ด าเนินการในพื นที่อ าเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวล าภู โดยส านักวิจัยและพัฒนา
การเกษตรเขตที่ 3 เมื่อปี 2559 ถึง ปี 2560 ทดสอบในแปลงเกษตรกร จ านวน 10 ราย วางแผนการทดลอง
แบบ RCB มี 2 ซ า ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ กรรมวิธีที่ 1 กรรมวิธีทดสอบ เป็นการผลิตคะน้าปลอดภัย
มีการติดตั งกับดักกาวเหนียวสีเหลือง การพ่นด้วยไส้เดือนฝอยก าจัดแมลงสายพันธุ์ไทย Steinernema
siamkayai KB Strain อัตรา 300 ล้านตัวต่อไร่ เริ่มพ่นหลังหว่านเมล็ด และพ่นทุก 7 ถึง 10 วัน
รวม 5 ถึง 7 ครั ง พ่นสารเคมีเมื่อจ าเป็น กรรมวิธีที่ 2 กรรมวิธีเกษตรกร พ่นสารเคมี 2-3 ชนิด 5 ถึง 7 ครั ง
ผลการทดสอบ พบว่า การระบาดของด้วงหมักผักเมื่อคะน้าอายุ 7 วันหลังงอก พบมีปริมาณมาก แต่เมื่ออายุ
20 วันหลังงอก ปริมาณด้วงหมัดผักลดลง ส่วนผลผลิตคะน้า พบว่า ผลผลิตคะน้าใกล้เคียงกันทั ง 2 กรรมวิธี
โดยกรรมวิธีทดสอบ 2,966 กิโลกรัมต่อไร่ กรรมวิธีเกษตรกร 3,096 กิโลกรัมต่อไร่ ผลวิเคราะห์สารพิษ
ตกค้าง ในคะน้า พบว่า ส่วนใหญ่ ไม่พบสารตกค้าง (ND) แต่มีบางราย (2 ราย) ที่พบการตกค้างสารพิษแต่อยู่
ในระดับปลอดภัย ต้นทุนการผลิต กรรมวิธีทดสอบ (6.45 บาทต่อกิโลกรัม) สูงกว่า กรรมวิธีเกษตรกร
(5.93 บาทต่อกิโลกรัม) เทคโนโลยีการผลิตคะน้าปลอดภัยที่เหมาะสมพื นที่จังหวัดหนองบัวล าภู
ได้แก่ การปฏิบัติตามหลัก GAP เน้นการเตรียมดินให้ดี ตากแดด 7 ถึง 10 วัน ติดกับดักกาวเหนียวสีเหลือง
80 กับดักต่อไร่ หลังหว่านเมล็ดรดน าให้ชุ่มท าการพ่น ไส้เดือนฝอยก าจัดแมลงสายพันธุ์ไทย Steinernema
siamkayai KB Strain อัตรา 300 ล้านตัวต่อไร่ โดยพ่นตอนเย็น พ่นลงดิน และพ่นทุก7 ถึง 10 วัน
รวม 5 ถึง 7 ครั ง (แหล่งระบาดมากต้องพ่นถี่) ถ้าแมลงระบาดมากควบคุมไม่ได้จึงจะพ่นด้วยสารเคมี
1 ถึง 2 ครั ง ซึ่งวิธีนี ถึงแม้จะมีต้นทุนการผลิตสูงแต่แนวโน้มถ้าใช้สม่ าเสมอต้นทุนการผลิตจะต่ าลง
และอาจชดเชยในแง่ได้ราคาที่ดีกว่า สมควรส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักได้ใช้ต่อไป
___________________________________________
1/ ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3
2/ ส านักงานเกษตรอ าเภอนาวัง
3/ ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
4/ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดขอนแก่น
255