Page 37 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 37
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์มันส้าปะหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
2. โครงการวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์มันส้าปะหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
3. ชื่อการทดลอง การปรับปรุงพันธุ์มันส้าปะหลังเพื่อผลผลิตและแป้งสูงั:ัการเปรียบเทียบ
มาตรฐานั(ลูกผสมปีั2557)
Cassava Varietal Improvementัfor High Yield and StarchัContentั
: Standard Trial (2014ัHybrids)
4. คณะผู้ด าเนินงาน อานนท์ััมลิพันธ์ 1/ จิณณจาร์ััหาญเศรษฐสุข 2/
รวีวรรณััเชื อกิตติศักดิ์ ทัศนีย์ัับุตรทอง 4/
3/ั
5. บทคัดย่อ
การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันส้าปะหลังลูกผสมชุดปีั2557ัด้าเนินการทดลองในปีั2560ัและั
ปีั2561ัน้าสายพันธุ์ที่คัดเลือกได้จากการเปรียบเทียบเบื องต้นัลูกผสมปีั2557ัซึ่งคัดเลือกได้จ้านวนั23ั
สายพันธุ์ปลูกเปรียบเทียบกับพันธุ์ระยองั5ัระยองั9ัระยองั86-13ัและเกษตรศาสตร์ั50ัด้าเนินการ
ทดลองในั3ัสถานที่ทดลองัได้แก่ัศูนย์วิจัยพืชไร่ระยองัศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่นัและศูนย์วิจัยพืชไร่
นครสวรรค์จากการเก็บเกี่ยวผลผลิตหัวสดและคุณภาพผลผลิตในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงกลางเดือน
เมษายนั2561จากการทดลองทั งั3ัสถานที่ัสามารถคัดเลือกได้ั10ัสายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตหัวสดต่อไร่สูงและ
มีปริมาณแป้งในหัวสดสูงัได้แก่ัสายพันธุ์ัCMR57-77-91 CMR57-83-24 CMR57-83-69 CMR57-83-129
CMR57-83-147 CMR57-83-160 CMR57-83-180 CMR57-83-191 CMR57-84-186 และัCMR57-104-
27ส้าหรับปริมาณแป้งในหัวสดที่อายุั8 เดือนหลังปลูกัเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ัการทดลอง
ที่ัศวร.ระยองัและัศวร.ขอนแก่นัพบว่าัสายพันธุ์มันส้าปะหลังส่วนใหญ่มีปริมาณแป้งในหัวสดสูงอยู่ในช่วง
30 ถึงั33 เปอร์เซ็นต์ัในขณะที่ัศวร.นครสวรรค์ัมีปริมาณแป้งในหัวสดค่อนข้างต่้าอยู่ในช่วงั22 ถึงั26
เปอร์เซ็นต์ัส่วนการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่อายุั10 เดือนหลังปลูกในช่วงเดือนเมษายนัท้าให้สายพันธุ์มัน
ส้าปะหลังส่วนใหญ่มีปริมาณแป้งในหัวสดลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดือนกุมภาพันธ์ นอกจากนั นพบว่า
สายพันธุ์ CMR57-83-69ัมีปริมาณแป้งในหัวสดสูงกว่าพันธุ์ระยองั86-13ัทุกอายุเก็บเกี่ยวและทุกสถานที่
ด้าเนินการและสายพันธุ์ CMR57-83-69ัและัCMR57-83-69ัเป็นสายพันธุ์ที่ให้ปริมาณแป้งสูงทั งในช่วงอายุ
8ัและั10ัเดือนหลังปลูกัซึ่งต้องยืนยันผลการทดลองในการเปรียบเทียบพันธุ์ในขั นตอนต่อไป
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
น้าสายพันธุ์ที่คัดเลือกได้เข้าสู่ขั นตอนการเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่นัในปีั2561ัและัปีั2562
ซึ่งเป็นขั นตอนต่อไปของการปรับปรุงพันธุ์พืช
___________________________________
1/ ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยองั
2/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุงั
3/ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่นั
4/ ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ั
19