Page 71 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 71
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการใช้ปุ๋ยทุเรียนในการผลิตเชิงการค้า
2. โครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการใช้ปุ๋ยทุเรียนในการผลิตเชิงการค้า
3. ชื่อการทดลอง การศึกษาปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่สูญเสีย
ไปกับผลผลิตทุเรียนพันธุ์การค้าในแหล่งผลิตภาคใต้ตอนบน
Determination on Fruit Nutrients Removal of Durian cv.
Monthong in Upper Southern Thailand.
4. คณะผู้ด าเนินงาน ปัญจพรััเลิศรัตน์ ั ทิวาพรััผดุง
1/
1/
สาธิดาััโพธิ์น้อย ปิยะนันท์ััวิวัฒน์วิทยา
1/
1/
ฤทธิ์ััเอี่ยนเล่ง สมพรััมิตรอวยพร
1/
1/
5. บทคัดย่อ
การศึกษาปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่สูญเสียไปกับผลผลิตทุเรียนพันธุ์การค้า
ในแหล่งผลิตภาคใต้ตอนบน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท้าระบบค้าแนะน้าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
และผลผลิตพืชส้าหรับทุเรียนัได้ด้าเนินการทดลองในแปลงทุเรียนัสวนเกษตรกรัอ.สวีัจ.ชุมพรัตั งแต่เดือน
ตุลาคมั2559ัถึงเดือนกันยายนั2560 น้ามาประเมินองค์ประกอบธาตุอาหารในผลทุเรียนัโดยการวิเคราะห์
ปริมาณธาตุอาหารพืชหลักและธาตุอาหารรองัในส่วนต่างๆของผลัคือัเปลือกัเนื อและเมล็ดัพบว่า
โพแทสเซียมมีความเข้มข้นมากที่สุดในทุกส่วนของผลัในเปลือกมีความเข้มข้นสูงสุดัมากกว่าในเนื อผล
และเมล็ดัไนโตรเจนมีความเข้มข้นรองลงมาัโดยในส่วนของเนื อผลมีความเข้มข้นของไนโตรเจนสูงสุด
ส่วนฟอสฟอรัสมีความเข้มข้นในส่วนต่างๆของผลน้อยกว่าโพแทสเซียมและไนโตรเจนค่อนข้างมาก
ส่วนแคลเซียมัและแมกนีเซียมในส่วนของผลมีความเข้มข้นน้อยกว่าโพแทสเซียมัและไนโตรเจนมาก
โดยแคลเซียมัแมกนีเซียมสะสมในส่วนของเปลือกัมากกว่าัเนื อัและเมล็ดัเมื่อประเมินองค์ประกอบธาตุ
อาหารพืชของผลสดทุเรียนั1ักิโลกรัมัสูงสุดัพบว่าัมีไนโตรเจนัฟอสฟอรัสัและโพแทสเซียมั3.19, 0.45
และั4.39ักรัมตามล้าดับัเทียบเท่าปุ๋ยัเป็นสัดส่วนที่ั3:1:5 ของัN-P2O5-K2O และจากการประเมินระดับ
ความอุดมสมบูรณ์ดินัและการชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียไปกับทุเรียนพันธุ์หมอนทองัร่วมกับการ
ชดเชยการสูญเสียธาตุอาหารจากการไม่เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารต่างๆัจึงได้ก้าหนดประมาณการใส่ปุ๋ย
ทุเรียนแปลงนี ในระยะการเจริญเติบโตและพัฒนาการของผลผลิตได้เป็นั1000-300-1000ักรัม
ของัN-P 2O 5-K 2O ั ต่อต้นต่อปีัซึ่งเกษตรกรสามารถน้าไปประยุกต์ใช้ในการจัดการปุ๋ยทีเหมาะสม
ต่อการผลิตทุเรียนได้ต่อไป
____________________________________
1/
กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
53