Page 234 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 234
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒ นาเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์ในพื นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาต้นแบบการผลิตพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื นที่
จังหวัดมหาสารคาม
3. ชื่อการทดลอง การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชอ้อยตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ที่เหมาะสมแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื นที่จังหวัดมหาสารคาม
Development of Sugarcane Production Technology According
to The appropriate Organic Farming Standard by Participatory
Farmers in Mahasarakham
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน อนุชา เหลาเคน นิพนธ์ ภาชนะวรรณ
สมสิทธิ์ จันทรักษ์ สนั่น อุประวรรณา
1/
1/
2/
ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง วนิดา โนบรรเทา
2/
วิไลวรรณ เวชยันต์ นาตยา จันทร์ส่อง 4/
3/
4/
อิทธิพล บ้งพรม รัชดาวัลย์ อัมมินทร์ 4/
4/
สุพัตรา รงฤทธิ์ พเยาว์ พรหมพันธุ์ใจ 4/
1/
จักรพรรดิ วุ้นสีแซง นวลจันทร์ ศรีสมบัติ 5/
5. บทคัดย่อ
การทดลองนี มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอัตราการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ความเหมาะสมกับความต้องการ
ของอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 รวมทั งการเสริมสร้างการรับรู้ และเชื่อมโยงทางการตลาด และแนวทางการผลิต
อ้อยตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์กับภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องแบบบูรณาการในพื นที่จังหวัดมหาสารคาม
ด าเนินงานในแปลงเกษตรกรจังหวัดมหาสารคามระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงกันยายน 2560 จ านวน
10 แปลงในสภาพแปลงเกษตรกรผู้ผลิตอ้อยอินทรีย์ จากผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เทียบเคียง
ตามค่าวิเคราะห์ดิน (ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 1.16 ตันต่อไร่ เทียบเท่าปุ๋ยเคมีผสมเกรด 18 กิโลกรัม N-6
กิโลกรัม P O -18 กิโลกรัม K 0) ให้ผลผลิตน าหนักสดอ้อยและผลผลิตน าตาลทั งในอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1
2 5 2
มากที่สุดโดยให้ผลผลิตน าหนักอ้อยสดเฉลี่ย 2 ปี คือ 13.24 ตันต่อไร่ มากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรคิด
เป็นร้อยละ 13.14 และให้ผลผลิตน าตาลออแกนิคเฉลี่ย 2 ปี คือ 1.70 ตันต่อไร่มากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบ
เกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 26.47 ในขณะที่อ้อยตอ 1 พบว่าในด้านต้นทุนและผลตอบแทนพบว่าการใส่ปุ๋ย
อินทรีย์เทียบเคียงตามค่าวิเคราะห์ดินทั งอ้อยปลูกและอ้อยตอ1 ให้รายได้สุทธิต่อไร่เฉลี่ย 2 ปีมากที่สุด
(9,030 บาทต่อไร่) มากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 128.31 และเมื่อคิดเป็นอัตราส่วนของ
_______________________________________
1/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม
2/
กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
3/
ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
4/
ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
5/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุรินทร์
216