Page 240 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 240
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์ในพื นที่ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนล่าง
2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื นที่
จังหวัดร้อยเอ็ด
3. ชื่อการทดลอง การพัฒนาต้นแบบการจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตพืชผักอินทรีย์แบบ
เกษตรกรมีส่วนร่วม
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน สุดารัตน์ โชคแสน นาฏญา โสภา
2/
นวลจันทร์ ศรีสมบัติ อิทธิพล บ้งพรม 3/
ภัสชญภน หมื่นแจ้ง วนิดา โนบรรเทา 5/
4/
บุญชู สายธนู
1/
5. บทคัดย่อ
ศึกษาการจัดการดินปุ๋ยเพื่อการผลิตพืชผักตามมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มีวัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้แนวทางด้านการจัดการดินปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตพืชผักอินทรีย์ในพื นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ด าเนินการในพื นที่บ้านประตูชัย ต าบลนิเวศน์ อ าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด และบ้านโพนฮาด
ต าบลดงครั่งน้อย อ าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ระหว่างปี 2558 ถึง ปี2560 การด าเนินงาน
ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะน า มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 100 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าการวิเคราะห์
คุณสมบัติดินและปุ๋ยอินทรีย์ และวิธีเกษตรกร มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์โดยวิธีเกษตรกร ผลการทดลอง
ในการปลูกพริก ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักกาดหอม และมะเขือเปราะ พบว่าการใส่ปุ๋ยตามอัตราแนะน าตาม
วิธีแนะน า มีแนวโน้มท าให้ผลตอนแทนทางเศรษฐศาสตร์มีรายได้สุทธิ และ BCR มากกว่าวิธีเกษตร
ดังนั นการผลิตพืชผักตามมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ โดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราตามค าแนะน า
เทียบเคียงกับค าแนะน าการใช้ปุ๋ยเคมีกับพืชเศรษฐกิจของกรมวิชาการเกษตร จึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่เหมาะสม
ส าหรับเกษตรกรสามารถน าไปใช้ในการผลิตพืชผักอินทรีย์ได้
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ส่งเสริมและแนะน าการจัดการดินปุ๋ยในระบบการปลูกพืชผักอินทรีย์ ให้กับเกษตรกรในพื นที่
บ้านโพนตูม ต าบลดงครั่งน้อย อ าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด น าไปประยุกต์ใช้ในพื นที่
_______________________________________
1/
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด
2/
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุรินทร์
3/
ส านักวิจัยแลพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4
4/
ส านักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร
5/ ส านักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
222