Page 303 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 303

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจเฉพาะพื นที่ภาคตะวันออก

                                                   เฉียงเหนือตอนล่าง
                       2. โครงการวิจัย             การเพิ่มศักยภาพการผลิตน้อยหน่าคุณภาพ
                       3. ชื่อการทดลอง             การสร้างแปลงต้นแบบเทคโนโลยีแบบผสมผสานเพื่อควบคุมแมลงวัน
                                                   ผลไม้ในน้อยหน่าพื นเมือง

                                                   The Technology of Intergrated Pest Control for Sugar Apple
                                                   Fruitflies
                                                                                                   1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         สายชล  แสงแก้ว               รัชดา  ปรัชเจริญวนิชย์
                                                                 1/
                                                   ไพรัตน์  เทียบแก้ว
                                                                  1/
                       5. บทคัดย่อ
                              ด าเนินการทดลองควบคุมแมลงวันผลไม้ในน้อยหน่าพื นเมืองด้วยเทคโนโลยีการป้องกันก าจัด
                       แบบผสมผสาน โดยการท าความสะอาดแปลงปลูก การตัดแต่งกิ่ง การติดกับดักเมธิลยูจินอล การติดกับดัก
                       แบบแผ่น การฉีดพ่นเหยื่อโปรตีน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการป้องกันก าจัดของส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

                       (สอพ.) กรมวิชาการเกษตร โดยด าเนินการในแปลงน้อยหน่าของเกษตรกร จ านวน 5 แปลง ในเขตพื นที่
                       อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ในปี 2559 ถึง ปี 2560 ผลการด าเนินการพบว่า การใช้เทคโนโลยีของ
                       สอพ. นั นสามารถลดจ านวนประชากรของแมลงวันผลไม้ Bactocer dosalis และ B. correcta ในแปลง

                       ต้นแบบ ได้ โดยในปี 2559 พบแมลงวันผลไม้มากที่สุดในช่วงเดือน มิถุนายน (ระยะติดผลอ่อน) พบ 46 ตัวต่อ
                       กับดักต่อวัน และในปี 2560 พบแมลงวันผลไม้มากที่สุดในช่วงเดือน พฤษภาคม (ระยะติดผล) พบ 22.5
                       ตัวต่อกับดักต่อวัน ซึ่งน้อยกว่าแปลงเปรียบเทียบ (38 ตัวต่อกับดักต่อวัน) รวมทั งร้อยละการเข้าท าลาย
                       ของแมลงวันผลไม้ยังลดลงด้วยและน้อยกว่าแปลงเปรียบเทียบ โดยวิธีการที่เกษตรกรยอมรับและน าไปใช้ต่อ
                       คือ การตัดแต่งกิ่งการใช้กับดักเมธิลยูจินอล กับดักแผ่น และการฉีดพ่นเหยื่อโปรตีน แต่วิธีการท าความ

                       สะอาดแปลงนั น มีการยอมรับน้อย เนื่องจากมีความยุ่งยากในการเก็บผลสุกที่ร่วงบนพื น และปัญหาเรื่อง
                       แรงงานในการเก็บ
                       6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

                              ผลจากการทดลองนี จะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้ที่ผลิตน้อยหน่า รวมทั งเกษตรกรที่ผลิตผลไม้
                       ชนิดอื่นในพื นที่ที่มีปัญหาเรื่องแมลงวันผลไม้น าไปปรับใช้ได้  รวมทั งเป็นข้อมูลส าหรับนักวิชาการ เจ้าหน้าที่
                       ส่งเสริมการเกษตร และบุคคลทั่วไปที่ต้องการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป
















                       ________________________________________
                       1/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา




                                                          285
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308