Page 376 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 376

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชชุ่มน้ าเพื่อใช้ประโยชน์ด้านเกษตร

                                                   และอุตสาหกรรม
                       2. โครงการวิจัย             วิจัยและพัฒนาการผลิตพืชพื้นที่ชุ่มน้ าที่มีศักยภาพเพื่อใช้ประโยชน์
                                                   ด้านเกษตรและอุตสาหกรรม
                       3. ชื่อการทดลอง             การส ารวจและรวบรวมพันธุ์กกในแหล่งปลูกภาคตะวันออกและภาค

                                                   ตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                1/
                                                                                             1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         นพดล  แดงพวง                 หฤทัย  แก่นลา
                                                                                             1/
                                                                      1/
                                                   เพ็ญจันทร์  ธาตุไพบูลย์      อรุณี  แท่งทอง
                                                   ณัฐพล  มากท่า                กมลภัทร  ศิริพงษ์ 2/
                                                                1/
                                                   ศิริลักษณ์  พุทธวงค์         นิลุบล  ทวีกุล
                                                                   3/
                                                                                            3/
                                                                                              3/
                                                   สรรเสริญ  เสียงใส            อุชฎา  สุขจันทร์
                                                                  3/
                                                   สมชาย  บุญประดับ 4/
                       5. บทคัดย่อ
                              การรวบรวมพันธุ์กกในพื้นที่ภาคตะวันออก ด าเนินการในปี 2558 ถึง ปี 2559 โดยการส ารวจ
                       และเก็บตัวอย่างพันธุ์กกแต่ละพื้นที่ในแหล่งปลูกกกจังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว
                       มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมพันธุ์กกและวิธีการที่เหมาะสมในการผลิต วิธีการผลิตกกให้เพียงพอส าหรับ

                       การแปรรูปและน าไปสู่การเพิ่มมูลค่าการผลิต ผลการด าเนินงาน พบว่าภาคตะวันออกมีพื้นที่ปลูกกกรวม
                       ทั้งสิ้น 1,344 ไร่ ให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 1,800 ถึง 2,100 กิโลกรัมต่อไร่ต่อครั้ง สภาพพื้นที่เพาะปลูก
                       มีทั้งพื้นที่ดอน และพื้นที่น้ าท่วมขัง จากการส ารวจรวบรวมข้อมูลพันธุ์กก พบว่าพันธุ์กกที่เกษตรกรนิยมปลูก
                       คือกกจันทบูร กกปราจีนบุรี กกบ้านแพง และกกญี่ปุ่น เป็นต้น เมื่อน าพันธุ์กกแต่ละพื้นที่
                       มาปลูกเปรียบเทียบกัน พบว่ากกจันทบูร เป็นกกที่มีลักษณะล าต้นสีเขียวเข้ม สีของล าต้นเป็นมันวาว

                       เมื่อเปรียบเทียบกับพันธุ์อื่นๆ เมื่อน าไปแปรูปกกจันทบูรจะมีความเหนียว ทนทานมากกว่ากกพันธุ์อื่นๆ
                       ซึ่งมีลักษณะล าต้นสีเขียวอ่อนและสีเขียว แต่ไม่เป็นมันวาวเหมือนกกจันทบูร แต่เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตกก
                       ที่อายุ 12 เดือน พบว่ากกปราจีนบุรี มีจ านวนต้นเฉลี่ยต่อกอมากที่สุด 25 ต้นต่อกอ และมีความสูงเฉลี่ยมาก

                       ที่สุด 224 เซนติเมตร ส่วนขั้นตอนการผลิตกกเกษตรกรลงทุนท านากกหนึ่งครั้งสามารถเก็บผลผลิตได้
                       2 ถึง 4 ครั้ง โดยมีต้นทุนการผลิตกกเฉลี่ยเพียง 2,421 บาทต่อไร่ มีรายได้และผลตอบแทนประมาณ 16,000
                       ถึง 20,000 บาทต่อไร่ต่อครั้ง แสดงให้เห็นว่ากกเป็นพืชหนึ่งที่มีศักยภาพหากมีการพัฒนาการผลิตที่เหมาะสม
                       จนถึงกระบวนการแปรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า ดังนั้นข้อมูลเบื้องต้นของการรวบรวมพันธุ์กกจากแหล่ง

                       ปลูกต่างๆจะช่วยให้เกษตรกรตัดสินใจเลือกใช้พันธุ์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการน าใช้ประโยชน์ต่อไป




                       _________________________________________
                       1/
                        ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6
                       2/
                        ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี
                       3/
                        ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรขอนแก่น
                       4/
                       ส านักผู้เชี่ยวชาญ



                                                          358
   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381