Page 25 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 25

24







                          (4)ธุรกิจค้ำปลีก เป็นธุรกิจที่ซื้อสินค้ามาแล้วขายสินค้าต่อให้ผู้บริโภคคนสุดท้าย
           ซึ่งแบ่งเป็นร้านค้าที่จ าหน่ายสินค้าประเภทเดียวร้านค้าปลีกที่ขายสิน สินค้าเบ็ดเตล็ด ร้าน

           สรรพสินค้า ร้านสรรพาหาร ร้านค้าปลีกลดราคาร้านค้าปลีกสะดวกชื้อ และการขายตรงถึงบ้าน

                          (5) ธุรกิจบริกำร ได้แก่ ธุรกิจเกี่ยวกับการศึกษา คมนาคม ที่อยู่อาศัย การ

           ติดต่อสื่อสาร และการบริการข้อมูล สุขภาพ บันเทิงเริงรมย์ กีฬา การประกันภัย การเงิน และ

           บริการเบ็ดเตล็ดอื่น ๆชุติภา โอภาสานนท์ (2543) แบ่งประเภทธุรกิจออกเป็น 4 ประเภท คือ

                          (1)   กำรผลิตหรืออุตสำหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากพืช

           อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย
           ผลิตภัณฑ์หนังสัตว์ อุตสาหกรรม แปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ ฯลฯ

                          (2) กำรค้ำส่ง ซึ่งแบ่งกำรค้ำส่งออกเป็น 5 ประเภท คือ


                          •ผู้ค้าอิสระ

                          • ส านักงานหรือสาขาการค้าส่งของผู้ผลิต


                          •ตัวแทนนายหน้าค้าส่ง

                          •สถานีหรือศูนย์รวมน ้ามันปิโตรเลียม

                          •ศูนย์ผลิตผลทางการเกษตรหรือประมง

                          (3) กิจกำรค้ำปลีก ซึ่งแบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ

                          •ร้านค้าปลีกแบบขายประจ าร้าน ได้แก่ ร้านค้าปลีกที่ให้บริการเต็มรูปแบบ ร้านค้า

           ปลีกแบบซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้าแบบให้ส่วนลด

                          •  สินค้าปลีกที่ไม่ต้องการร้านค้า ได้แก่ การขายตามบ้าน การขายทางไปรษณีย์

           และ การขายด้วยเครื่องอัตโนมัติ

                          (4) กิจกำรบริกำร แบ่งออกเป็นที่อยู่อาศัย การจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย การ

           พักผ่อน การบ ารุงรักษา การรักษาพยาบาล ที่ปรึกษาต่าง ๆ การประกันภัยและการเงิน การ

           ขนส่งและการคมนาคม การศึกษาและการท่องเที่ยว ส่งผลให้การผลิต การบริโภค และการจ้าง
           งานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการศึกษาพัฒนาการของธุรกิจ อาจจ าแนกประเภทของธุรกิจ ได้ใน

           ลักษณะ แตกต่างกัน ดังนี้

                          (1) ธุรกิจอุตสำหกรรม ได้แก่ การประกอบธุรกิจการผลิต การแปรรูป การ

           ประกอบ ชิ้นส่วน ซึ่งผลผลิตที่ได้อาจออกมาในรูปของสินค้าส าเร็จรูป วัตถุดิบ หรือสินค้ากึ่ง

           ส าเร็จรูป ซึ่งสามารถแยก ออกเป็นประเภทย่อย ๆ ได้ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมสิ่ง
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30