Page 3 - งานและพลังงาน
P. 3

พลังงาน

                  เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่สามารถจับต้องได้ แต่เราสามารถรับรู้ผลของมันได้ เช่น เรารู้สึกร้อนเนื่องจาก

                                                                         ึ
               พลังงานความร้อน หลอดไฟสว่างเพราะพลังงานไฟฟ้า ในบทนี้เราจะศกษาพลังงานที่เกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ซึ่งมี่
               พลังงานอยู่ 2 ประเภทคือ พลังศักย์และพลังงานจลน์


                  1. พลังงานจลน์ ( Ek) คือ พลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่

                  สมการของพลังงานจลน์นั้นจะได้จากการทดลองและนำผลการทดลองมาเขียนกราฟหาความสัมพันธ์และใช้กฎ

               ของของนิวตัวในการหาค่าคงตัว

                  ถ้ากำหนดสัญลักษณ์ Ek แทนพลังงานจลน์วัตถุ จะได้สมาการพลังจลน์ดังนี้






                                    2 2
               Ek = พลังงานจลน์ (kg m /s  หรือ N.m หรือ J)
                  2. พลังงานศักย์  ( Ep ) คือ พลังงานที่อยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากตำแหน่งของวัตถุ เช่น พลังงานที่อยู่ของวัตถุที่

                                                ู
               อยู่ในที่สูงจากระดับอ้างอิงหรือสปริงที่ถกอดซึ่งเป็นพลังงานที่พร้อมจะทำงาน
                                                  ั
                    ก. พลังงานศักย์โน้มถ่วง คือ พลังงานในวัตถุที่อยู่สูงกว่าระดับอ้างอิง




                                                     ในการยกวัตถุมวล m ขึ้นไปสูงจากพื้นเป็นระยะ h ด้วยความเร็วคงตัว

                                                จะต้องออกแรงเท่ากับขนาดวัตถุ( F = mg ) และจากสมการ W = Fs ซึ่ง
                                                จากรูปจะได้ระยะคือความสูง h ( s = h ) จะได้สมการงาน คือ


                                                                           W = Fh

                                                   เนื่องจาก F = mg ดังนั้น W = mgh

                                                .ใช้สัญลักษณ์   Ep แทน พลังงานศักย์ ดังนั้นสมการพลังงานศักย์ของวัตถุ

                                                ซึ่งอยู่สูงจากพื้นดินระยะ h คือ

                                                                           Ep = mgh


                                                 Ep = พลังงานศักย์ (J)
   1   2   3   4   5   6