Page 3 - WB2_Neat
P. 3

พลังงาน

                  เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและไม่สามารถจับต้องได้ แต่เราสามารถรับรู้ผลของมันได้ เช่น เรารู้สึกร้อนเนื่องจาก

                                                                         ึ
               พลังงานความร้อน หลอดไฟสว่างเพราะพลังงานไฟฟ้า ในบทนี้เราจะศกษาพลังงานที่เกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ซึ่งมี่
               พลังงานอยู่ 2 ประเภทคือ พลังศักย์และพลังงานจลน์


                  1. พลังงานจลน์ ( Ek) คือ พลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เช่น รถกำลังวิ่ง ลูกธนูที่ถูกยิง  หาพลังงานจลน์ได้
               จากปริมาณงานที่ทำได้ทั้งหมด ของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ไปทำงานอย่างหนึ่ง จนกระทั่งวัตถุหยุดนิ่ง






               Ek = พลังงานจลน์ (kg m /s  หรือ N.m หรือ J)
                                    2 2

                    พลังงานจลน์กับงาน

                  หากมีแรง F กระทำต่อวัตถุ จนขนาดของความเร็วของวัตถุเปลี่ยนไป ทำให้พลังงานจลน์ของวัตถุเปลี่ยนไปจาก

                                                ี
               เดิม พบว่างานที่แรงนั้นกระทำต่อวัตถุมค่าเท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุที่เปลี่ยนไป




























                 2. พลังงานศักย์  ( Ep ) คือ พลังงานที่อยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากตำแหน่งของวัตถุ เช่น พลังงานที่อยู่ของวัตถุที่อยู่

               ในที่สูงจากระดับอ้างองหรือสปริงที่ถูกอัดซึ่งเป็นพลังงานที่พร้อมจะทำงาน
                                  ิ
   1   2   3   4   5   6   7