Page 429 - เนื้อหาต้นฉบับส่งเอเชียพิมพ์ตัวอย่าง-แก้
P. 429
- ๔๒๒ -
๑) กรณีผู้ต้องหามีเจตนาขอรับใบอนุญาต แต่ไม่สามารถรับ
ใบอนุญาตได้ก่อนการน าเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม ซึ่งได้แก่การกระท าดังต่อไปนี้
ื่
- ผู้ต้องหาได้ส าแดงเครื่องวิทยุคมนาคมที่น าเข้าเพอเสียภาษีต่อ
กรมศุลกากรแล้ว
- ผู้ต้องหาสั่งน าเข้าเครื่องวิทยุคมนาคมจากต่างประเทศทาง
ไปรษณีย์ โดยผ่าน กสท. หรือบริษัทเอกชน ซึ่งต้องผ่านศุลกากรไปรษณีย์
- ผู้ต้องหาสั่งน าเข้าเครื่องวิทยุคมนาคมจากต่างประเทศให้ส่ง
ของผ่านด่านศุลกากร
- กรณีอื่นที่ผู้ต้องหาสามารถพิสูจน์ได้
ื่
๒) กรณีผู้ต้องหาได้ส าแดงเครื่องวิทยุคมนาคมของกลางเพอเสีย
ภาษีและได้เสียภาษีน าเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร และได้น าเครื่องวิทยุคมนาคมผ่าน
ด่านศุลกากรแล้ว แต่มีการพบภายหลังว่าได้น าเข้าโดยไม่ได้รับใบอนุญาต
กรณีตาม ๑.๕ (๒) (ข) ให้พิจารณาเปรียบเทียบตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
- เครื่องวิทยุคมนาคมของกลาง มีราคาไม่เกิน ๕,๐๐๐.-บาท ให้ปรับ
๒๐๐.-บาท (สองร้อยบาทถ้วน)
- เครื่องวิทยุคมนาคมของกลาง มีราคาเกินกว่า ๕,๐๐๐.-บาท
แต่ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐.-บาท ให้ปรับ ๔๐๐.-บาท (สี่ร้อยบาทถ้วน)
- เครื่องวิทยุคมนาคมของกลาง มีราคาเกินกว่า ๑๐,๐๐๐.-บาท
แต่ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐.-บาท ให้ปรับ ๘๐๐.-บาท (แปดร้อยบาทถ้วน)
- เครื่องวิทยุคมนาคมของกลาง มีราคาเกินกว่า ๕๐,๐๐๐.-บาท
แต่ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐.-บาท ให้ปรับ ๑,๕๐๐.-บาท (หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน)
- เครื่องวิทยุคมนาคมของกลาง มีราคาเกินกว่า ๓๐๐,๐๐๐.-บาท
ขึ้นไป ให้ปรับ ๓,๕๐๐.-บาท (สามพันห้าร้อยบาทถ้วน)
การเปรียบเทียบตาม ๑.๕ (๒) ( ข ) ไม่ให้น าหลักเกณฑ์
การเปรียบเทียบคดีกรณีเครื่องวิทยุคมนาคมซึ่งเป็นอปกรณ์ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ ๓
ุ
(พ.ศ. ๒๕๓๖) ตาม ๑.๑๒ และเหตุเพิ่มโทษตาม ๓.๑ และ ๓.๒ มาพิจารณาในการเปรียบเทียบ