Page 73 - e-book
P. 73

หลักสูตรการสงเสริมศักยภาพผูดูแลคนพิการทางการไดยิน   ก
                                                     เฉพาะคนหูหนวกและคนหูตึง


                           1) การตรวจประเมินและวินิจฉัยความพิการทางการไดยิน
                                    หรือสื่อความหมาย



            การตรวจประเมินและการวินิจฉัยความพิการทางการไดยิน (รศ.นพ.คเณศร

            แวววิจิตร ราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แหงประเทศไทย: คูมือการตรวจ
            ประเมินและการวินิจฉัยความพิการตาม พรบ.สงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ
            พ.ศ. 2550, ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ)
            คํานิยามตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

            ความผิดปกติหรือความบกพรองทางการไดยินครอบคลุม 2 ลักษณะ ดังนี้
                1)  หูหนวก หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
                    ชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปน
                    ผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจนไมสามารถรับขอมูล

                    ผานทางการไดยิน เมื่อตรวจการไดยิน โดยใชคลื่นความถี่ที่ 500
                    เฮริตซ และ 1,000 เฮริตซ และ 2,000 เฮริตซ  ในหูขางที่ไดยินดีกวา
                    จะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียง 90 เดซิเบล ขึ้นไป
                2)  หูตึง หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรม

                    ในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม
                    ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจนไมสามารถ
                    รับขอมูลผานทางการไดยิน เมื่อตรวจการไดยิน โดยใชคลื่นความถี่

                    ที่ 500 เฮริตซ และ1,000 เฮริตซ และ2,000 เฮริตซ ในหูขางที่ไดยินดีกวา
                    จะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียงตั้งแต 40- 90 เดซิเบล
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78