Page 15 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 15
ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ 15
79. การจัด ผตน. ในภารกิจ ชร. – พย. นั้น โดยปกติ จัดตามค าสั่งของ บก.ป.หน่วยก าลังรบ
เช่นเดียวกับ การจัดการติดต่อ
80. การก าหนดที่ตั้งยิง ภารกิจ ชร. – พย. นั้น บก.ป.หน่วยก าลังรบ (กรม ป.) จะเป็นผู้ก าหนด
ที่ตั้งยิงให้ แต่ถ้า หน่วยรับการ พย. ต้องการก าหนดให้ จะต้องได้รับการอนุมัติจาก บก.
หน่วยก าลังรบเสียก่อน จึงก าหนดได้
81. การท าแผนการยิง ภารกิจ ชร. – พย. บก. ป.หน่วยก าลังรบ จะเป็นผู้ท าให้ / จะเห็นว่า
หน่วยรับการ พย.ไม่มีสิทธิ์ในอนาคต.ของ หน่วย ป. ชร. – พย. เลย
82. ภารกิจ ช่วยส่วนรวม ( ชร. ) เพื่อให้ ผบ.ชาหน่วยก าลังรบสามารถบังคับวิถีการรบได้ตาม
ต้องการ โดยมอบภารกิจ ชร.เพื่อให้ ผบ.หน่วยก าลังรบ ควบคุม หน่วย ป.ชร. ผ่านทาง
บก.ป.หน่วยก าลังรบนั้น
83. หน่วย ป.ชร. ไม่เหมาะโจมตี เป้าหมายตามเหตุการณ์ ซึ่ง พัน.ป.ชร. จะให้ผลสูงสุดเมื่อ ยิง
เป้าหมายตามแผน
84. ค าสั่งเตือน ไม่ใช่การดัดแปลงภารกิจทางยุทธวิธี แต่ ผบ.ชาให้ค าสั่งเตือนเมื่อ
ต้องการให้หน่วยทหารเตรียมพร้อม ส าหรับการปฏิบัติในอนาคต
ค าสั่งเตือน ของหน่วย ป. มักจะก าหนดไว้กับการมอบภารกิจทางยุทธวิธี
85. การขึ้นสมทบ ไม่ถือว่าเป็นภารกิจทางยุทธวิธี แต่ เป็นสภาพการบังคับบัญชา อย่างหนึ่งเท่านั้น
86. หน่วยทหารปืนใหญ่สนามที่จัดขึ้นสมทบให้กับ หน่วยก าลังรบหน่วยหนึ่งเพื่อปฏิบัติการยุทธนั้น
จะอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ ผบ.ชาหน่วยก าลังรบที่ตนมาขึ้นสมทบ และจะได้รับมอบ
ภารกิจทางยุทธวิธี
87. ปกติจะพยายามหลีกเลี่ยง ส าหรับการสมทบหน่วยทหาร ป.สนามให้กับหน่วยด าเนินกลยุทธ
ระดับ กรม / เว้นเสียแต่มีความจ าเป็น เกี่ยวกับ ระยะทาง , ปัญหาการติดต่อสื่อสาร หรือ
ขัดข้องอื่น ๆ
88. การจัดทหารปืนใหญ่เข้าท าการรบ ได้โดย จัดหน่วยทหารปืนใหญ่ เข้าไว้ในหน่วยทางยุทธวิธี
มอบภารกิจทางยุทธวิธี ให้หน่วยทหารปืนใหญ่
89. ความมุ่งหมายในการจัด ทหารปืนใหญ่เข้าท าการรบนั้นเพื่อ ให้การสนับสนุนแผนด าเนินกล
ยุทธอย่างดีที่สุด โดยใช้อาวุธปืนใหญ่ทั้งปวงที่มีอยู่อย่างเต็มขีดความสามารถ และบังเกิดผล
เต็มที่