Page 46 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 46

ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่     46

                     พิกัดตารางละเอียด เป็นจ านวนเต็ม                    10  เมตร

                     พิกัดตารางหยาบ เป็นจ านวนเต็ม                       100  เมตร

               328. พิกัดกัดตาราง คือ  ค่าเป็นเมตร ตามแกนนอน และแกนตั้ง ใช้แสดงที่อยู่ของจุด โดย

                     สัมพันธ์ กับศูนย์ก าเนิด


               329. องค์ประกอบย่อย การก าหนดที่ตั้ง ปม.โดย “วิธีพิกัดตาราง” ที่ผู้ตรวจการณ์จะต้องหา

                     และส่งให้ ศอย.ทราบ คือ

                     พิกัด ปม. (6 หรือ 8 ตัว)


                     มุมภาค เช่น มุมภาค 1140 (จาก ผตน.ไปยัง ปม.) / ไม่ต้องหาความสูงของ ปม.*

               330. การก าหนด ที่ตั้งปม.โดยวิธีพิกัดตารางจะรวดเร็วขึ้น ถ้าก าหนดเป็นจุดที่ทราบแล้ว เช่น

                     ปม. กข.1001 (แทนรายงานพิกัดปม.) / มุมภาค 1160

               331. โปล่าร์ คือ  ที่ตั้งของจุด ซึ่งแสดงด้วยระยะ และทิศทาง จากที่เป็นหลักจุดหนึ่ง

               332. การก าหนดที่ตั้ง ปม.โดย “วิธีโปล่าร์” ที่ผู้ตรวจการณ์จะต้องหา และส่งให้ ศอย.ทราบ คือ


                     มุมภาค (ผตน.ไปยัง ปม.) เช่น มุมมภาค 1140

                     ระยะ (จาก ผตน.ถึง ปม./เมตร)

                     การย้ายทางสูง  สูงขึ้น – ต่ าลง / เมตร (แตกต่างสูง ระหว่าง ปม. กับ ที่ตรวจการณ์


                     ปรากฏชัด)

               333. การก าหนดที่ตั้ง ปม.โดย วิธีโปล่าร์ ถ้าที่ตั้งตรวจการณ์ สูงเท่า ปม. ไม่ต้องรายงานให้

                     ศอย.ทราบ

               334. จุดที่ทราบ คือ จุดในบริเวณ ปม. ซึ่ง ผตน.ทราบที่ตั้ง และ ศอย.ได้ยิงกรุยจุดนี้ไว้บนแผ่น

                     เรขายิงแล้ว /ทั้ง ผตน.และศอย.ต้องทราบที่ตั้ง และชื่อของจุดเหล่านั้น


               335. ตามธรรมดาแล้วจุดที่ทราบ มักใช้  จุดยิงหาหลักฐาน / ภูมิประเทศที่เด่นชัด หรือ ปม.ที่

                     เคยยิงไว้แล้ว เป็นจุดที่ทราบ

               336. การก าหนดที่ตั้ง ปม.โดย “วิธีย้ายจากจุดที่ทราบ”  ที่ผู้ตรวจการณ์จะต้องหา และส่งให้


                     ศอย.ทราบ คือ

                     มุมภาค (ผตน.ไปยัง ปม.) เช่น มุมภาค 1410

                     การย้ายทางข้าง เช่น ขวา – (ซ้าย) 250 ( จากจุดที่ทราบ ไปยังแนวตั้งฉาก กับแนว ตม.)

                     การย้ายทางระยะ เช่น เพิ่ม – (ลด) 500 (เพิ่ม – ลด ตามแนว ตม.)
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51