Page 88 - PDA 40 Years Anniversary
P. 88

39.   โครงการศึกษาและจัดท�าแผนพัฒนาบ้านฉาง          40.  โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตโอกาสและรายได้ของสตรีและ

                 (พ.ศ. 2555-2556)             โครงการล�าดับที่ 296        เยาวชนในชนบท (พ.ศ.2556-2558)       Improvement in the
                                                                    Quality of Life, Opportunity and Income for Rural  Women
          สมาคมฯ ได้รับเป็นที่ปรึกษาให้กลุ่มบริษัทดาว ประเทศไทย   ในการ       and Children         โครงการล�าดับที่ 305
          ด�าเนินงานการศึกษาและจัดท�าแผนพัฒนาบ้านฉาง  จุดเด่นของโครง
          การฯ นี้คือ การจัดตั้งคณะที่ปรึกษาและคณะกรรมการยุทธศาสตร์ การ โครงการฯ นี้เป็นโครงการพัฒนาสังคมที่ได้รับการสนับสนุนจาก  IKEA
          จัดท�าแผนพัฒนาบ้านฉาง 1 คณะ  เพื่อส่งเสริมและบูรณาการแผนใน Thailand  ด�าเนินการโดยโรงเรียนมีชัยพัฒนา มีระยะเวลาด�าเนินการ
          ระดับอ�าเภอ  รวมทั้งการผลักดันแผนยุทธศาสตร์อ�าเภอบ้านฉาง  ไปสู่ 3 ปี คือ พ.ศ.2556-2558  มีวัตถุประสงค์ คือ การสร้างโอกาส  สร้าง
          การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม  โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนในพื้นที่ได้มี รายได้    พัฒนาคุณภาพชีวิตการศึกษา  ความรู้  และทักษะที่จ�าเป็น

          ส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพชีวิตของตนเอง  และมีส่วนร่วมในการ รักษาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความเสมอภาคชาย หญิง และสิทธิมนุษยชน
          จัดท�าแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยขั้นตอนการศึกษาทั้งหมด 6 ขั้นตอน  เสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน  กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์  ได้แก่  สตรี
          ได้แก่ การส�ารวจข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน  การประเมินคุณภาพชีวิต ด้วย เด็ก นักเรียน กลุ่มผู้ด้อยโอกาส  ผู้สูงอายุ คนพิการ และครู ด�าเนินการ
          เทคนิคบันได (Ladder) การทัศนศึกษาดูงานนอกพื้นที่ การจัดท�าแผน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  กิจกรรมส�าคัญที่จะด�าเนินการ  คือ  การ
          พัฒนาหมู่บ้าน และการบูรณาการแผนระดับต�าบล และการจัดท�าแผน พัฒนาคุณภาพชีวิต  โดย  สถาบันในท้องถิ่นชนบทโดยปรับเปลี่ยนรูป
          ยุทธศาสตร์ อ�าเภอบ้านฉาง  ด�าเนินงานในพื้นที่ 22 หมู่บ้าน 3 ต�าบล  แบบจากการใช้หมู่บ้านเป็นศูนย์กลาง  มาเป็นรูปแบบที่ใช้สถาบันเป็น
          อ�าเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งจากหน่วยงาน ศูนย์กลางการท�างานโดยผ่านสถาบันต่างๆ  เช่น โรงเรียน  สหกรณ์  โรง


                                                                              ทศวรรษที่           ๔


                                         พ.ศ. 2547 -2556





          ภาครัฐและภาคประชาชน รวมทั้งสิ้น 2,045 คน และสรุปรวมได้แผน พยาบาลส่งเสริมสุขภาพ  เรือนจ�า  และสถานีต�ารวจ โครงการได้ด�าเนิน
          พัฒนาหมู่บ้าน จากการระดมความคิดทั้งหมด 764 โครงการ แบ่งเป็น การพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนชนบทในด้านต่างๆ  อาทิ  การจัดตั้ง
          ชุมชนด�าเนินการได้เอง  111  โครงการ  ชุมชนขอรับการสนับสนุนจาก ศูนย์เรียนรู้ธุรกิจฟาร์มเกษตรส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ จัดตั้งกองทุนเงิน
          ภาครัฐและเอกชนภายในจังหวัด  329  โครงการ  ชุมชนขอรับการสนับ  กู้เพื่อท�าธุรกิจของนักเรียน ให้การฝึกอบรมและพัฒนาครู ตลอดจนการ
          สนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนภายนอกจังหวัด  324  โครงการ  พัฒนาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาศักยภาพ
          และน�าแผนทั้งหมดไปบูรณาการจัดท�าเป็นแผนระดับต�าบล   และคัด ของคณะกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน    ดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนและตั้ง
          เลือกโครงการที่มีความส�าคัญได้จ�านวน  56  กิจกรรม/โครงการ  เป็น กองทุนเงินกู้ส�าหรับผู้ปกครองนักเรียนและผู้ด้อยโอกาสในชุมชน  เพื่อ

          โครงการสุขภาพอนามัยและสังคม   โครงการด้านอาชีพและรายได้  ใช้ในการประกอบอาชีพ  ปัจจุบันได้ด�าเนินการไปแล้ว  ในโรงเรียน  25
          โครงการด้านการศึกษาและโครงการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร  แห่ง  สถานีอนามัย สถานีต�ารวจ เรือนจ�าขนาดเล็ก และมูลนิธิ อย่างละ
          ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม                              1 แห่ง





























               86
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93