Page 22 - ความหมายของกีฬา (บันทึกอัตโนมัติ)
P. 22

19



                                                กีฬำตะกร้อ



               ประวัติและควำมเป็นมำ




               ในสมัยโบราณนั้นประเทศไทยเรามีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระท าความผิด โดยการน าเอานักโทษใส่ลง

               ไปในสิ่งกลมๆที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะ แต่สิ่งที่ช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อได้ดี คือ ในพระราช
               นิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนที่กล่าวถึงการเล่นตะกร้อ และที่ระเบียงพระอุโบสถวัด

               พระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ ก็มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้


               โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เราได้ทราบประวัติของตะกร้อ คือประเทศของเราอุดมไป

               ด้วยไม้ไผ่ หวายคนไทยนิยมน าเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้ รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วย อีกทั้ง
               ประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง ตะกร้อชิงธงและ

               การแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่างๆ ซึ่งการเล่นตะกร้อของประเทศอื่นๆนั้นมีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธีเช่น

               ของไทยเรา การเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามล าดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการท าจาก

               สมัยแรกเป็นผ้า , หนังสัตว์ , หวาย , จนถึงประเภทสังเคราะห์ ( พลาสติก )

               ความหมาย ค าว่าตะกร้อ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ . ศ .2525 ได้ให้ค าจ ากัดความเอาไว้ว่า


               ” ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตา ส าหรับเตะ “

               วิวัฒนาการการเล่นกีฬาตะกร้อ

                   การเล่นตะกร้อได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่อง ในสมัยแรกๆ ก็เป็นเพียงการช่วยกันเตะลูก

               ไม่ให้ตกถึงพื้นต่อมาเมื่อเกิดความช านาญและหลีกหนีความจ าเจ ก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะ เข่า ศอก ไหล่
               มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามล าดับ จากนั้นก็ตกลงวางกติกาการเล่นโดยเอื้ออ านวยต่อผู้เล่น

               เป็นส่วนรวม อาจแตกต่างไปตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ แต่คงมีความใกล้เคียงกันมากพอสมควร
   17   18   19   20   21   22   23   24   25