Page 85 - Suradeth
P. 85
73
อธิบำย มีควำมกะทัดรัด ลักษณะจะมีควำมคล้ำยคลึงโครงสร้ำงของภำษำโปรแกรมหรือภำษำคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่ำน
เข้ำใจควำมหมำยก่อนกำรน ำไปเขียนโปรแกรมจริง ตัวอย่ำงดังรูปข้ำงล่ำง
7.2 หลักเกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม
เมื่อมีกำรออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแก้ไขปัญหำใดปัญหำหนึ่ง ขั้นตอนแรก ต้องเข้ำใจในเบื้องต้นก่อนว่ำ คอมพิวเตอร์
นั้นจะปฏิบัติงำนตำมชุดค ำสั่งที่เขียนตำมควำมเป็นจริง ดังนั้น หำกมีกำรก ำหนดถ้อยค ำหรือประโยคในรูปแบบของรหัสเทียม
ก็จะต้องมีควำมสอดคล้องกับกำรปฏิบัติงำนทำงคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐำน เพื่อให้กำรแปลงชุดค ำสั่งจำกรหัสเทียมมำเป็น
ภำษำคอมพิวเตอร์ได้ง่ำยยิ่งขึ้น
อย่ำงไรก็ตำม ในกำรเขียนรหัสเทียม ไม่มีกำรก ำหนดมำตรฐำนที่ระบุไว้ชัดเจนลงไป ว่ำต้องท ำอย่ำงนั้น ต้องท ำอย่ำง
นี้ ดังนั้น ผู้เขียนรหัสเทียมแต่ละคน จึงอำจมีเทคนิดกำรเขียนที่แตกต่ำงกันออกไป แต่ทั้งนี้ เพื่อให้กำรเขียนรหัสเทียมทีแบบ
แผนยิ่งขึ้น จีงควรปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
1. ก ำหนดจุดเริ่มต้นด้วยค ำว่ำ "Begin" และจุดสิ้นสุดด้วยค ำว่ำ "End"
2. กำรเขียนประโยคค ำสั่ง จะเขียนเป็นภำษำอังกฤษอย่ำงง่ำย
3. กำรเขียนประโยคค ำสั่งหนึ่งๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่ำนั้น
4. กำรเขียนรหัสเทียมต้องไม่ขึ้นกับภำษำใดภำษำหนึ่งในกำรเขียนโปรแกรม