Page 14 - โครงงานวทยสงประดษฐ-33333_Neat
P. 14

- มุงพัฒนาการทองเที่ยวในประเทศกอนการทองเที่ยวระหวางประเทศ

                                  - ตองคํานึงถึงขีดความสามารถในการรองรับ (Carrying capacity) ทุกๆ ดาน
                                  - ประชาชนในทองถิ่นจะตองมีสวนรวมในการตัดสินใจในโครงการตางๆ ที่จะมีผลกระทบตอวิถีชีวิต
              ของคนสวนใหญในพื้นที่ (Local participation)

                                  - มุงใชวัสดุและผลิตภัณฑในทองถิ่น (Local product)
                                  - เนนกระจายรายไดสูทองถิ่น
                                  - คุณคาของสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมนั้นเปนคุณคาที่มีอยูในตัวเอง
                                  - การปรับตัวเปลี่ยนแปลงนั้นเปนสิ่งจําเปน แตทั้งนี้ตองไมขัดกับหลักการดังกลาวขางตน

                                  - ภาคธุรกิจการทองเที่ยว องคกรดานสิ่งแวดลอมและรัฐมีหนาที่จะตองทํางานรวมกันอยางเสมอภาค
              และวางอยูบนหลักการขางตน

              การจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน

                     การพัฒนาที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยความรวมมือของมนุษยดวยกันเอง  คือมนุษยตองตระหนักวา  การ
              พัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนาไดจําเปนตองพัฒนาใหสมดุลทั้งทางดานเศรษฐกิจคุณภาพชีวิต   รวมทั้งการอนุรักษ
              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวย   ซึ่งมีหลักการสําคัญของการใชประโยชนทรัพยากรอยางยั่งยืนในสาขาตางๆ
              ดังนี้

                             1. หลักการใชประโยชนทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืน ในการจัดการปาไมตองคํานึงถึงความยั่งยืนของศักยภาพ
              การอํานวยน้ํา   ความยั่งยืนของสิ่งมีชีวิตตางๆ   ภายในระบบนิเวศ   โดยที่ยังคงเอื้อประโยชนใหแกประชาชน
              นักวิทยาศาสตร  และนักทองเที่ยวตอไปได  ในเรื่องนี้คงจะตองมีการจัดสรรพื้นที่การใชประโยชนใหเหมาะสม  จะตองมี

              การควบคุมการใชประโยชนในแตละประเภทใหมีความรัดกุม  ชัดเจนเพียงพอที่จะนําไปปฏิบัติ  รวมทั้งตองหามาตรการ
              ใหประชาชนมีสวนรวมในการอนุรักษและไดประโยชนไปพรอมๆ กัน
                             2. หลักการใชประโยชนทรัพยากรประมงอยางยั่งยืน ทรัพยากรประมงเปนทรัพยากรที่มีลักษณะเฉพาะตัว
              คือเปนสาธารณสมบัติ  (Commen  Property)  ดังนั้นทุกคนจึงมีเสรีภาพในการที่จะเขาไปเก็บเกี่ยวใชประโยชนจาก
              ทรัพยากรนี้  สําหรับขอเสนอในการควบคุมการใชทรัพยากรประมงก็คือ  การควบคุมอาชญาบัตรประมง  เปนตน

              นอกจากนี้การอนุรักษทรัพยากรประมงที่สําคัญอีกประการหนึ่ง   ก็คือการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของ
              สิ่งมีชีวิตในทะเล   โดยจะตองคุมครองใหสิ่งมีชีวิตเหลานั้นสามารถสืบทอดลูกหลานตอไปได   ดังนั้นในการอนุรักษ
              ทรัพยากรการประมงจึงจําเปนตองศึกษาและกําหนดอาณาเขตพรอมทั้งควบคุมการใช  ประโยชน  พื้นที่ดังกลาวให

              เหมาะสมอีกดวย
                             3.   หลักการทําการเกษตรแบบยั่งยืน ปจจัยที่มีผลใหเกิดระบบเกษตรแบบยั่งยืน มี 2ประการ คือ
                                  - ความหลากหลายทางชีวภาพ (Diversity) ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวที่อาศัยอยูในระบบนิเวศเกษตร
              (Agro-ecosystem) นั้นๆ

                                  - ความผสมกลมกลืน ((Harmonization) โดยอาศัยความหลากหลายที่เกิดขึ้นในระบบเกษตรนั้น จะตอง
              มีความผสมกลมกลืนกัน  ในการอาศัยพึ่งพาเกื้อกูลซึ่งกันและกันภายใต  สถานการณปจจุบันเกษตรกรจึงตองเผชิญหนา
              กับปญหาความเสื่อมโทรมของดินปญหาวัชพืช ปญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช ดังนั้นการปรับเปลี่ยนแบบแผนการผลิต
              โดยสรางความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบการผลิตและระบบนิเวศเกษตรจึงมีความจําเปน ดังนั้นระดับที่เกษตรกร

              แตละรายปรับเปลี่ยนไดก็จะแตกตางกันไป  บางรายอาจจะนําแบบแผนเกากลับมาใชได  บางรายอาจจะปรับสูระบบ
              เกษตรผสมผสานที่มีกิจกรรมเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวที่เกื้อกูลกัน มีการปรับพื้นที่ เชน ยกรอง  ขุดบอปลามีการทําสวน
              ผลไม ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว รวมถึงการทํานาในอาณาบริเวณที่ใกลเคียงกัน บางรายที่มีขอจํากัดในการปรับพื้นที่ และไม
              พรอมที่จะเลี้ยงสัตว  ก็อาจจะใชระบบวนเกษตร  ซึ่งอาศัยการพึ่งพากันระหวางพืชและเนนความหลากหลายของพืชเปน

              หลัก
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19