Page 28 - โครงงานคณตศาสตร 4 PDF_Neat
P. 28

บทที่  5  สรุป อภิปรายผล  และขอเสนอแนะการทําโครงงาน


           สรุป อภิปรายผลการทําโครงงาน

                  สรุปตารางที่  1  ผลการเคลื่อนที่ของตนแบบหุนยนตเรขาคณิตในเวลา 30 วินาที  มีผลดังนี้

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นไมกระดาน  ไดระยะทาง  2.76   เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่
          จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน  87  องศา

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นคอนกรีต  ไดระยะทาง  2.14  เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด
          สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน  73  องศา

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นกระเบื้อง  ไดระยะทาง  1.91   เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด
          สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน  64  องศา

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นถนนลาดยาง  ไดระยะทาง  2.54   เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการ

          เคลื่อนที่จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน   81  องศา

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นดินทั่วไป  ไดระยะทาง  2.25  เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด
          สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน  76   องศา

                         -       เคลื่อนที่บนพื้นสนามหญา  ไดระยะทาง  1.87  เมตร ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่
          จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน    71   องศา

                         ซึ่งหากเรียงลําดับการเคลื่อนที่ไดไกลที่สุดไปหานอยที่สุด  ดังนี้  การเคลื่อนที่บนพื้นไมกระดาน     พื้น
           ถนนลาดยาง  พื้นดินทั่วไป พื้นคอนกรีต  พื้นกระเบื้อง  และพื้นสนามหญาตามลําดับ

                         และ  เรียงลําดับลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตนไดตรงที่สุดไปหา
           นอยที่สุด  ดังนี้  การเคลื่อนที่บนพื้นไมกระดาน    พื้นถนนลาดยาง   พื้นดินทั่วไป   พื้นคอนกรีต  พื้นสนามหญา  พื้น

           กระเบื้อง  ตามลําดับ


                  สรุปตารางที่  2   บันทึกผลการรับน้ําหนักของตนแบบหุนยนตเรขาคณิต  โดยทดลองกับพื้นผิวคอนกรีต
                           - น้ําหนักที่บรรทุก  100  กรัม    สามารถเคลื่อนได  2.08 m. ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่

           จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน  67    องศา

                           - น้ําหนักที่บรรทุก  200  สามารถเคลื่อนได 1.86 m.    ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด
           สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน   72  องศา

                           - น้ําหนักที่บรรทุก  300  สามารถเคลื่อนได 1.62 m.  ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด

           สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน   76  องศา
                           - น้ําหนักที่บรรทุก  400  สามารถเคลื่อนได 1.48 m.  ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด

           สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน   84  องศา
                           - น้ําหนักที่บรรทุก  500  สามารถเคลื่อนได 1.53 m.   ลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุด

           สุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตน   87  องศา
                         น้ําหนักที่ใชทดลองที่ปริมาณ   100 – 500  กรัม  เคลื่อนที่บนพื้นคอนกรีต  ตนแบบหุนยนตเรขาคณิต

           สามารถเคลื่อนได   และเรียงลําดับลักษณะความเที่ยงตรงของการเคลื่อนที่จุดสุดทายทํามุมกับจุดเริ่มตนไดตรงที่สุดไปหา

           นอยที่สุด  ดังนี้  บรรทุกน้ําหนัก  500 กรัม  400 กรัม  300 กรัม  200 กรัม  และ  100 กรัม ตามลําดับ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33