Page 11 - พระครูโสภณวีรานุวัตร บทความร่วมเรื่องภาวะผู้นำภาษาไทย.
P. 11

ฉบับภาษาไทย  สาขามนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์  และศิลปะ       Veridian E-Journal, Silpakorn University

               ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2561                            ISSN 1906 - 3431



                             ภาวะผู้น าการจัดการเชิงพุทธที่มีต่อสังคมในยุคไทยแลนด์ 4.0


                        Leadership in Buddhist Management skills in the Workplace
                                     Sociology and Religion in Thailand 4.0


                                                                                                     *
                                                         เอกมงคล  เพ็ชรวงษ์ (aekmongkol phetchawong)
                                                                                                     **
                                                    พระมหานพรักษ์ ขันติโสภโณ (Phramaha Nopparak Namuang)
                                                                                                    ***
                                                    พระครูโสภณวีรานุวัตร (Phrakhrusophonweeranuwat)
                                                                                                    ****
                                                   พระครูสุวรรณจันทนิวิฐ (Phrakhrusuwanchanthaniwit)

               บทคัดย่อ
                        ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมนุษย์มีหลักการศึกษาเรียนรู้ ผู้น าเมื่อมีการศึกษาเรียนรู้ก็มีการพัฒนาขึ้นมา

               เลื่อยๆตั้งแต่ผู้น าครอบครัว ผู้น าชุมชน ผู้น าประเทศ ผู้น าโลก   ประกอบไปด้วยผู้น าทางด้านบุคคล ผู้น าทางด้าน
               การงาน ผู้น าทางด้านการเงิน ผู้น าน าด้านทรัพยากร และผู้น าแต่ละฝ่ายก็มีหน้าที่ของตนเช่น บิดา มารดา
               ก็มีหน้าที่เลี้ยงและดูแลบุตรตลอดจนสั่งสอนให้บุตรเป็นคนดี ครูอาจารย์มีหน้าที่สั่งสอนอบรมศิษย์ ให้มีความรู้

               และน าไปปฏิบัติพัฒนาแก้ปัญหาของสังคม  ตลอดจนประเทศชาติ บ้านเมือง อีกทั้งผู้น าด้านการงานในหน่วยงาน
               ในองค์การ องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ

                        ปัจจุบันนี้สังคมคมโลกมีการแข่งขันกันอย่างมากโดยเฉพาะด้านผู้น าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ
               พัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ผู้น าได้น าทฤษฎีเก่าและทฤษฎีใหผม่มาประยุกต์ เป็นหลักนวัตกรรมในการ

               ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนประเทศชาติบ้านเมืองตลอดจนพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้ามี
               การบริหารจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนทางด้านการเมือง การปกครอง การศึกษา การเกษตร การพาณิชย์

               การอุตสาหกรรม ตลอดจนศิลป์วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี จากรูปแบบเดิม ผู้คิด ผู้ท า ผู้น า
               บริหารจัดการพัฒนาให้เป็นรูปแบบใหม่ที่ทันสมัยตามยุคการพัฒนานวัตกรรม ไทยแลนด์ 4.0



                         *  ผู้แต่ง อาจารย์ประจ าหลักสูตรสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ,.วัดป่าเลไลย์กวรวิหาร
                      ,
               สุพรรณบุรี Faculty  of  Social  Science  Mahachulalongkornrajavidyalaya  University,  Academic Services Unit. Wat Pa
               Lelai Worawihan.  Muang  Distric  Suphanburi  Province. 72160  โทร.094-5535366 ,e-mail aekmong123@hotmail.com
                         **  ผู้ร่วมบทความ อาจารย์ประจ าหลักสูตรสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัย
               มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี. 72160.   Faculty  of  Social  Science  Mahachulalongkornrajavidyalaya
               University,  Academic Services Unit. Wat Pa Lelai Worawihan.  Muang  Distric Suphanburi Province.72160.
               e-mail nopparak 03 @ hotmail.com.: โทร. ๐๖ – ๒๕๒๘ – ๙๙๕๑
                         ***  ผู้ร่วมบทความ อาจารย์ประจ าหลักสูตรสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ สถาบันวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ,.วัดป่า
               เลไลย์กวรวิหาร สุพรรณบุรี,ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรีโทร.092-5909595 email:2555ido@gmail.com
                         ****
                            ผู้ร่วมบทความ อาจารย์พิเศษสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ,.วัดป่าเลไลย์กวรวิหาร
               สุพรรณบุรี: วัดองค์พระ  โทร.  089 -521 3475 อิเมลล์    juntaniwit1325@gmail.com
                                                             926
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16