Page 94 - หนังสืออนุทิน พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ. ๙) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา.
P. 94

ได้นั่งคุยกับผู้ใหญ่เขียน โดยค�าดี (เกิด ๒๔๗๓) มีลูก ๗ คน
                คนบ้านดอน อ.อู่ทอง ข้าพเจ้าเรียกมาถามว่าเป็นญาติอย่างไรกับ

                ปลัดพลายงาม โดยค�าดี ศิษย์เก่าวัดสองพี่น้องและอดีตเจ้าอาวาส
                วัดก�าแพงบางจาก เขตภาษีเจริญ ผู้ใหญ่เขียนบอกว่าเป็นลูกพี่ลูกน้อง

                กับปลัดพลายงาม เสียไปนานแล้ว และบอกว่า ๓ ปู่พี่น้องกัน คือปู่ทรัพย์
                โดยค�าดี, ปู่เอิบ โดยค�าดี และปู่กว้าง โดยค�าดี ซึ่งตนเป็นสายหลังนี้

                และว่าปู่ของพลายงามเป็นพี่ของปู่กว้างปู่ของตน พี่น้องพลายงาม ๕ คน
                แต่ตายหมดแล้ว

                       ได้สอบถามว่า สมเด็จพระวันรัต (ป๋า) วัดพระเชตุพน เคยมา
                วัดดอนมะเกลือไหม? ผู้ใหญ่เขียนบอกว่า เคยมาเพราะเณรโพธิ์ แซ่อึ้ง
                เคยบวชและเป็นทหาร นิมนต์สมเด็จวัดพระเชตุพนมาวัดดอนมะเกลือ

                       นายอ�าเภอโกมล บุญสูงเพชร อธิบายที่มาของนามสกุลตนว่า
                บรรพบุรุษชื่อ ทวดบุญ เป็นสิงลอ ในกลุ่มชนชาติไทยทรงด�ามีชนชั้น

                ๔ วรรณะ คือ สิงลอ เป็นผู้ปกครองเป็นพวกเจ้า, สิงเรือง เป็นพวกหมอ
                เป็นปุโรหิต ท�าหน้าที่เหมือนพวกพราหมณ์, สิงอะไรต่างๆ เช่น ปิ่นทอง

                เป็นชนชั้นราษฎรทั่วไป และล่างสุดเรียกว่า ข้าหรือเป็นไพร่ ที่เป็นทาส
                นั่นเอง ดังนั้นตนเองเป็นเชื้อสายผู้ปกครอง เป็น “สิงลอ” ส่วน “เพชร”

                ค�าท้ายนั้น เมื่อก่อนยังไม่มีนามสกุล ไทยทรงด�าอพยพเข้ามาอยู่สุพรรณ
                จากเพชรบุรี ตั้งแต่สมัยยังไม่มีนามสกุล เข้ามาในสมัย ร.๕ แล้ว นามสกุล
                เกิดในสมัย ร.๖ จะใช้แค่ “บุญเพชร” ก็กะไรอยู่ เลยเติมค�าตรงกลางว่า

                “สูง” ซึ่งสูงหมายถึง “ลอ” นั่นเอง จึงได้นามสกุล “บุญสูงเพชร” มา
                       นามสกุลมีค�าลงท้ายว่า “เพชร” ของคนสุพรรณ ยังยืนยันว่า

                เคลื่อนตัวโยกย้ายมาจาก “เพชรบุรี” เมื่อร้อยกว่าปี ในสมัย ร.๕
                       หลากหลายชาติพันธุ์ในงานคุณนายพิมพา ชูวงษ์วิชช






           92 อนุทินประจ�ำวัน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99