Page 129 - สมโภชพระอารามหลวง ครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี.
P. 129

46  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร


          อย่�งน่�สนใจว่� คว�มนิยมสร้�งพระพุทธรูปขน�ดใหญ่ใน

          อิริย�บถ นั่ง ยืน เดิน นอน นั้นพบม�กในช่วงพุทธศตวรรษที่
          ๑๘-๑๙ ซึ่งเป็นช่วงที่พุทธศ�สน�ลังก�วงศ์กำ�ลังเจริญรุ่งเรือง

          ในสมัยนั้น ผู้คนและพระสงฆ์ในสมัยนั้นน่�จะมีคว�มรู้เรื่อง

          อิริย�บถและมุทร�ต่�งๆ ของพระพุทธรูปเป็นอย่�งดี และก�ร
          หักทล�ยของพระพ�ห�(แขน) จ�กเหตุก�รณ์เพลิงไหม้เครื่องบน

          วิห�รนั้นจะต้องยังมีส่วนพระกรหลงเหลือติดอยู่บนพระเพล�

          ไม่ม�กก็น้อย รวมถึงท่�นั่งของพระพุทธรูปในป�งแสดงธรรม-
          จักรนั้น พระช�นุมณฑลพบว่�แบะถ่�งออกจ�กกันม�กผิดกัน

          กับป�งป่�เลไลยก์ที่พระช�นุจะตั้งตรง

                ๔. จ�กก�รตรวจสอบของผู้เขียนและสม�ชิกชมรมนัก

          โบร�ณคดี (สมัครเล่น) เมืองสุพรรณพบว่� พระพุทธรูปประทับ

          ห้อยพระบ�ทศิล�ข�วกับหลวงพ่อโตวัดป่�เลไลยก์นั้นมีคว�ม
          แตกต่�งกันม�ก โดยพบว่�หลวงพ่อโตวัดป่�เลไลยก์มีขน�ด

          ใหญ่เกือบส�มเท่�ของพระพุทธรูปประทับห้อยพระบ�ทศิล�

          ข�ว และเทคนิคก�รก่อสร้�งนั้นต่�งกันม�ก คือ หลวงพ่อโต
          วัดป่�เลไลยก์สร้�งแบบก่ออิฐ ในขณะที่พระพุทธรูปประทับ

          ห้อยพระบ�ทศิล�ข�วนั้นสร้�งขึ้นจ�กก�รแกะหินสีข�วโดยทำ�

          เป็นชิ้นส่วนมีสลักและเดือยม�ประกอบกันเข้� ในท�งวิศวกรรม
          ถ้�หลวงพ่อโตวัดป่�เลไลยก์เคยเป็นป�งแสดงธรรมจักรม�ก่อน

          พระพ�ห�และพระกรจะมีลักษณะลอยตัวยื่นออกม�จ�กพระ

          อังส� และมีขน�ดใหญ่เกือบส�มเท่�ของพระพ�ห�และพระกร
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134