Page 7 - สำนักประชาสัมพันธ์เขต 6
P. 7

�      ในปี�พ.ศ.�2503�สมัยรัฐบาล�ฯพณฯ�จอมพลสฤษดิ์�ธนะรัชต์�ได้ตระหนักถึง

           ความสำ�คัญและความจำ�เป็นเรื่องการประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีต่อ

           ประชาชนให้ทั่วทุกพื้นที่ของประเทศ�จึงขออนุมัติให้กรมประชาสัมพันธ์ขยายเขตบริการวิทยุ

           กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ออกสู่ส่วนภูมิภาค�พร้อมทั้งให้จัดตั้ง�“สำ�นักงานประชาสัมพันธ์

           เขต”�ขึ้นตามภาคต่าง�ๆ�ซึ่งในครั้งนั้นได้จัดตั้งเพียง�3�ภาค�คือ�ภาคใต้�ภาคตะวันออกเฉียง

           เหนือ�และภาคเหนือ�เพื่อทำ�หน้าที่ควบคุมการบริหารงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์�

           รวมทั้งเป็นตัวแทนของกรมประชาสัมพันธ์ปฏิบัติ�การทางจิตวิทยาเพื่อสร้างความมั่นคง

           ของชาติ�“สำานักงานประชาสัมพันธ์เขต�6�สงขลา”�จึงได้สถาปนาขึ้นตั้งแต่นั้นมา�

           โดยมีพลเอกสุรจิตร�จารุเศรณี�อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์สมัยนั้น�เป็นประธานประกอบพิธี

           วางศิลาฤกษ์�ก่อสร้างอาคารที่ทำ�การ�เมื่อวันที่�25�ธันวาคม�2503




           �      ต่อมาในปี�พ.ศ.�2505�เปลี่ยนชื่อเรียกใหม่เป็น�“�กองประชาสัมพันธ์เขตสงขลา�”�ตาม

           ประกาศสำ�นักนายกรัฐมนตรีเรื่องการแบ่งส่วนราชการของกรมประชาสัมพันธ์�พ.ศ.�2505




           �      พ.ศ.�2518�มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมประชาสัมพันธ์�ใหม่�โดย�ยกฐานะ�

           “กองประชาสัมพันธ์เขตสงขลา�”�เป็น�“ศูนย์ประชาสัมพันธ์เขต�3�สงขลา�”�พร้อมกันนั้นได้

           ขยายขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่ทั้ง�14�จังหวัดภาคใต้�นับตั้งแต่จังหวัดชุมพร

           ลงมาถึงจังหวัดนราธิวาส��




           �      เนื่องจาก�ภารกิจและพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ประชาสัมพันธ์เขต�3�สงขลา�ขณะนั้น

           มีมากเกินไปกอปรกับสภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสลับกับภูเขาสองฟากฝั่งขนาบข้าง

           ด้วยทะเลและเส้นทางคมนาคมและการสื่อสารในสมัยนั้นไม่สะดวก�ทำ�ให้ยากต่อการกำ�กับ

           ดูแลและติดต่อประสานงาน�กรมประชาสัมพันธ์ตระหนักถึงสภาพปัญหาและอุปสรรคดัง

           กล่าว�จึงได้มีคำ�สั่งกรมประชาสัมพันธ์ที่�274/2520�ลงวันที่�14�กันยายน�2520�เรื่องแบ่ง

           ส่วนราชการ�“ศูนย์ประชาสัมพันธ์เขต�3�สงขลา�”�โดยให้แบ่งเขตความรับผิดชอบออก

           เป็น�2�ส่วน�คือ�ภาคใต้ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12