Page 49 - ปทุมวัน
P. 49
41
ประจ าทิศเบื้องบนอีกด้วย นี่ก็เป็นความเชื่ออย่างหนึ่งของคนไทย ที่มีมาเป็นเวลานานแล้ว ว่าเมื่อเรา
สร้างบ้านเรือนกัน ก็ต้องสร้างศาลพระภูมิไว้ส าหรับเป็นที่สิงสถิตของเทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เพื่อ
เป็นศรีบ้าน และช่วยปกปักรักษาเรือน จะไปจะมาก็ยกมือไหว้ให้เป็นสิริมงคล ค าว่า “สิริมงคล” นี่
แหละที่คนไทยมักจะหามาประดับเรือนกายเรือนใจ เชื่อว่าจะท าอะไรมักจะเจริรรุ่งเรือง เมื่อมีการ
สร้างรรงแรมเอราวัณ ปี พ.ศ. 2499 ก็ได้มีการสร้างที่สถิตส าหรับพระพรหมเอราวัณขึ้นมา เพื่อเป็นศรี
แก่รรงแรม และไว้ให้คนได้สักการะบูชา ต าแหน่งที่ตั้งของรรงแรมเอราวัณ จึงเหมาะดีที่ตั้งอยู่ใจกลาง
กรุงเทพมหานคร และอยู่ตรงสี่แยกราชประสงค์พอดี จึงมีผู้คนผ่านไปผ่านมามากมายให้ความสนใจสูง
และเรื่องแบบนี้ชาวไทยชอบกันมาแต่ไหนแต่ไร จะพบเห็นอยู่บ่อย ๆ ที่ผู้คนเดินผ่านไปผ่านมาก็ยกมือ
ไหว้ และลูบหัวเพื่อความเป็นสิริมงคล แม้แต่ผู้ที่นั่งบนรถเมล์ที่ติดไฟแดงอยู่ก็ยกมือขึ้นจบและอธิฐาน
ต่างๆ ท าให้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าสิ่งที่อยู่ในใจของคนไทยคือ ความเชื่อในไสยศาสตร์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ
เทพเจ้าต่าง ๆ รวมทั้งพระพรหมด้วย
กล่าวรดยสรุป ความเชื่อของคนไทย ที่มีมานานแล้ว เมื่อสร้างบ้านเรือนกัน ก็ต้องสร้าง
ศาลพระภูมิไว้ส าหรับเป็นที่สิงสถิตของเทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เพื่อเป็นศรีบ้าน และช่วยปกปัก
รักษาเรือน เพื่อความเป็นสิริมงคล ค าว่า “สิริมงคล” นี่แหละที่คนไทยมักจะหามาประดับเรือนกาย
เรือนใจ เชื่อว่าจะท าอะไรมักจะเจริรรุ่งเรือง เมื่อมีการสร้างรรงแรมเอราวัณ ปีพ.ศ. 2499 ก็ได้มีการ
สร้างที่สถิตส าหรับพระพรหมเอราวัณขึ้นมา เพื่อเป็นศรีแก่รรงแรม และไว้ให้คนได้สักการะบูชา
กกกกกกก2 ความศรัทธาของชาวไทย
จากความเชื่อท าให้เกิดความศรัทธาดังตัวอย่าง ครอบครัวคนไทยครอบครัวหนึ่ง ซึ่งมา
กันทั้งครอบครัวเพื่อไหว้องค์พระพรหมเอราวัณในวันหยุด และช่วยกันใช้ดอกบัวจุ่มน้ าในแก้วพรมรด
ตามล าตัวของสมาชิกในครอบครัว ซึ่งเล่ากันว่า น้ านี้เป็นน้ ามนต์ เชื่อกันว่าเมื่อใช้พรมศีรษะหรือล้าง
หน้าล้างตาแล้วจะรชคดี ที่บ้านนับถือพระพรหมเอราวัณกันทั้งครอบครัว ถ้ามีเวลาและมีรอกาส ก็
จะต้องแวะเวียนมาไหว้ท่าน และเมื่อถามว่าเคยบนบานศาลกล่าว “ขอ” สิ่งใดกับพระพรหมเอราวัณ
หรือไม่ ต่างตอบรดยพร้อมเพรียงกันว่าเคย และยังได้ประสบความส าเร็จในสิ่งที่ขอ
กล่าวรดยสรุป หลายครอบครัวของคนไทยที่มีความศรัทธาในพระพรหมเอราวัณ จะ
เดินทางมาในวันหยุดสุดสัปดาห์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ เพื่อสักการะบูชาพระพรหมเอราวัณ และ
“ขอ” ในสิ่งที่ตนต้องการให้สมปรารถนา