Page 21 - Pathumwan
P. 21
13
ในทางคติมหายาน นับถือพระพรหมในฐานะธรรมบาล ซึ่งปรากฏอยู่ในพระสูตรต่าง ๆ ที่
ส าคัญ และถือเป็นพระโพธิสัตว์องค์หนึ่ง
พระพรหมที่ส าคัญ
พระนาม บทบาทที่ส าคัญและเกี่ยวข้องในคติพระพุทธศาสนาและความเชื่อของไทย
ค าเรียกรวมส าหรับพระพรหมทั้งหมดในคติพระพุทธศาสนาหรือเรียกประมุข
ท้าวมหาพรหม
ของชาวสวรรค์ชั้นพรหมภูมิ
ผู้เป็นอธิบดีของโลกและเป็นผู้อาธนาธรรมหลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้าทรงพิจารณาบัวสามเหล่า และเป็นต้นก าเนิดของค าอาธนาธรรม
ท้าวสหัมบดีพรหม
เป็นค าเรียกพระพรหมในศาสนาฮินดู ซึ่งนับถือว่าเป็นพระผู้สร้างโลกและ
จักรวาล และมีเพียงพระองค์เดียว
พระพรหมา
พระพรหมผู้ที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จไปปราบความคิดอันเป็นมิจฉาทิฏฐิและ
เป็นที่มาของพระคาถาพาหุงบทที่แปด
ท้าวพกพรหม
พระพรหมผู้เป็นที่มาของเทศกาลสงกรานต์ ในชาดกท้องถิ่นของประเทศ
ไทย ประเทศลาว ประเทศกัมพูชาเป็นผู้พนันธรรมกุมารและเป็นพระบิดาของ
ท้าวกบิลพรหม
นางสงกรานต์ทั้งเจ็ดองค์
เป็นเทวรูปพระพรหม ประดิษฐานหน้าโรงแรมแกรนด์ ไฮแอท
เอราวัณ บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชด าริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร จึงท าให้ท้าวมหาพรหมองค์นี้ได้นามว่า ท้าวมหาพรหม
ท้าวมหาพรหมเอราวัณ
เอราวัณ
กล่าวโดยสรุป คติความเชื่อ และความศรัทธาที่มีต่อท้าวมหาพรหมของคนไทย ซึ่งรับคติ
ความเชื่อจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิตชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ บางกลุ่ม
ตั้งแต่เกิดจนตายด้วยความเลื่อมใสศรัทธา ชาวไทยได้จึงสร้างเทวสถาน เทวาลัย หรือศาลท้าว
มหาพรหม เพื่อเป็นที่เคารพสักการะบูชาสร้างไว้หน้าสถานที่ราชการ บริษัท ห้างสรรพสินค้า โรงแรม
และโรงพยาบาล ซึ่งได้พบเห็นกันโดยทั่วไป ด้วยเหตุนี้พระพรหมจึงเป็นศูนย์กลางการเคารพบูชา บน
บานศาลกล่าวขอให้ช่วยเหลือคุ้มครอง และสิ่งที่พึ่งปรารถนา โดยถวายเครื่องสักการะ เครื่องเซ่น
สังเวยให้ช่วยประทานพร เพราะเชื่อว่าท่านบันดาลให้ความต้องการส าเร็จในสิ่งที่พึ่งปรารถนา จึงมา
แก้บนตามที่ได้ตั้งจิตอธิฐานไว้