Page 120 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
P. 120
การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ค่าตัวที่ 3 จะเป็นค่าที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนต าแหน่งของข้อมูล เมื่อแรมเข้าถึง
ข้อมูลที่ถูกต้องแล้ว และต้องการจะใช้ข้อมูลอันใหม่ ก็จะต้องมีการเปลี่ยนแถวและคอลัมน์ของข้อมูลตัว
ใหม่ที่ต้องการส่งไปประมวลผล จึงเกิดความล่าช้า เป็นค่า tRP
➢ tRAS (Row Active Time)
เป็นรอบสัญญาณต่ าสุดที่แถวนั้น ๆ ในแรม จะต้องท างาน เพื่อให้มีเวลามาก
พอที่จะเข้าถึงข้อมูลในแถวดังกล่าว ซึ่งค่านี้จะมีระยะเวลาค่อนข้างมากกว่าค่าอื่น เพราะต้องปล่อยทิ้งไว้
ให้สามารถหาข้อมูลในแถวที่ถูกต้องได้ก่อน จากนั้นจึงจะมีการเลือกคอลัมน์ทีหลัง
ที่มา: extremeit.com, 26 พ.ย. 2559, [ออนไลน์].
โดยส่วนใหญ่ในการท าโอเวอร์คล็อกแรม มักจะแนะน าให้ปรับ 3 ค่าแรก โดย
เพิ่มหรือลดลงมาทีละ 1-2 หน่วยก่อน เมื่อไม่พบปัญหา จึงค่อย ๆ ปรับค่าตัวสุดท้ายครับ
เอาล่ะ คิดว่าเพื่อนๆ น่าจะพอเข้าใจเรื่องของแรมได้มากขึ้นนะครับ หากใครมี
ข้อสงสัย ก็สามารถสอบถามกันมาได้เลยในคอมเมนต์หน้าเพจ Extreme PC นะครับ ถ้ามีข้อมูลในส่วน
ไหนผิดตกบกพร่อง ผมต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ส าหรับวันนี้ สวัสดีครับ
https://www.gamersnexus.net/guides/1349-ram-how-dual-channel-works-vs-single-
channel?showall=1
http://www.hardwaresecrets.com/everything-you-need-to-know-about-the-dual-triple-
and-quad-channel-memory-architectures/
รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 118