Page 89 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
P. 89
การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
กราฟเปรียบเทียบประสิทธิภาพความต่างระหว่าง Free-Sync และ G-Sync
ทีนี้มารู้จักกับเทคโนโลยีในการ Sync กันบ้างดีกว่า
V-Sync : อันนี้คาดว่าหลายคนน่าจะเคยได้ยินหรือรู้จักกันดี เพราะมันคือ การ Sync แบบ
ปกติที่มีให้เลือกในเกมอยู่เป็นประจ า แต่จ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการ V-Sync นี้ เนื่องด้วยเพราะว่า
ถึงแม้มันจะบังคับให้ FPS และ Refresh Rate เท่ากัน ตัดปัญหาการ Tearing ไปได้ก็จริง แต่ผลที่
ตามมาก็คือเกิด Respone time ที่มากจนเกินไป หรือที่เราเรียกว่า Lag นั่นแหละ อาการนี้จะ
แสดงออกอย่างชัดเจนเลย เวลาที่เราเลื่อนเมาส์จริง แต่ในจอคอมกว่ามันจะเลื่อนก็รู้สึกถึงความช้า
ท าให้มันตอบสนองต่อการขยับตัวละครของเราไม่ตรงความจริง อาจจะช้ากว่า 0.5 – 1 วินาที เล่น
เกมแล้วจะรู้สึกไม่สนุกเป็นอย่างมาก สู้ยอมให้มันเกิดการ Tearing บ้างจะดีเสียกว่าอีก แต่ตัว
ละครของเราขยับตรงตามที่เรากดจริง
ที่มา: compgamer.com, มกราคม 10 2559, [ออนไลน์].
การปรับ V-Sync ในเกม CS:GO บอกเลยว่าเป็นอะไรที่โหดร้ายมาก ยิงใครไม่โดนแน่นอน
Adaptive-Sync: การ Sync แบบนี้จะท าให้ค่า Refresh Rate ของจอตรงกับค่า FPS ที่
ได้จาก GPU และการ Adptive-Sync นั้นเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีใหม่ที่เรียกว่า Free-Sync
ของทาง AMD ส าหรับ Adptive-Sync นั้นสามารถใช้ได้กับ AMD และ CPU ของ Intel บางตัว
ส่วนทางด้าน Nvidia ไม่รองรับระบบ Adptive-Sync
Free-Sync: ต้องบอกเลยว่า Free-Sync นั้นรองรับเฉพาะแค่การ์ดจอของทางค่าย AMD
เท่านั้น อย่างที่ได้บอกไปว่ามันจะท าการปรับให้ตัวค่า Refresh Rate ของหน้าจอเข้ากับตัวการ์ด
รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 87