Page 59 - แผนปฏิบัติการห้องสมุดประชาชนอำเภอนาหว้า๒๕๖๑OKaraya (1)
P. 59

สื่ออุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย







               ๓. หลักกำรและเหตุผล


                       เมื่อวันที่ ๒ เม.ย.๒๕๕๙ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) โดย ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ

               การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ร่วมกับภาคีเครือข่าย ส านักงานสถิติแห่งชาติ ส านักงานกองทุนสนับสนุนสร้าง

               เสริมสุขภาพ(สสส.) สื่อมวลชน อาทิ บริษัทเนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ปฯลฯแถลงข่าวเปิดตัวโครงการบรรณสัญจร
               ประจ าปี ๒๕๕๙  (Book  Voyage  2559)  เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช

               กุมารี “เจ้าฟ้านักอ่าน” โอกาสคล้ายวันพระราชสมภพ ๒ เม.ย. และตามมติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) พ.ศ.
               ๒๕๕๒ ได้ก าหนดให้วันที่ ๒ เม.ย.ของทุกปีเป็น“วันรักการอ่าน” โดยดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวง

               ศึกษาธิการ (ศธ.) กล่าวระหว่างเป็นประธานในการแถลงข่าวว่า ส านักงานสถิติแห่งชาติ ได้เปิดเผยผลการ

               ส ารวจปี ๒๕๕๘ พบว่าประชากรอายุตั้งแต่ ๖ ปีขึ้นไปใช้เวลาเฉลี่ยที่ใช้อ่านนอกเวลาเรียนนอกเวลาท างานอยู่
               ที่ ๖๖  นาทีต่อวัน หรือประมาณ๑ชั่วโมง๖นาที ส าหรับกลุ่มเยาวชนใช้เวลาอ่านประมาณ ๙๔นาทีหรือราว๑

               ชั่วโมง ๓๔  นาทีต่อวัน ส าหรับกลุ่มผู้สูงอายุใช้เวลาเฉลี่ย ๔๔  นาทีต่อวัน ทั้งนี้ผลส ารวจยังได้รายงานถึง

               ประเภทเนื้อหาสาระที่ประชาชนชอบอ่านมากที่สุดคือข่าวและสารคดีทั่วไปร้อยละ ๔๘.๕ นอกนั้นเป็นประเภท
               บันเทิงและวิชาการตามล าดับ  “  ในส่วนของศธ.ได้มีนโยบายส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาในทุกช่วงวัย และ

               ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงได้ก าหนดยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนการท างานที่มุ่งส่งเสริมให้ประชาชนทุก

               คนอ่านหนังสือมากขึ้น โดยใช้ชุมชนเป็นกลไกในการขับเคลื่อนจนเกิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึง
               น ามาสู่การด าเนินโครงการบรรณสัญจรประจ าปี ๒๕๕๙ (Book Voyage 2559) ที่ส านักงาน กศน.ได้ร่วมกับ

               ภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือประชารัฐ เพื่อร่วมกันระดมสรรพก าลังในการขอรับบริจาคหนังสือ

               จ านวน ๑๐  ล้านเล่ม ส่งไปยังหมู่บ้านและชุมชนทั่วประเทศ โดยเป้าหมายส าคัญคือ ต้องการปลุกกระแสการ
               รักการอ่านของคนไทยให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ”  ด้าน นายสุรพงษ์  จ าจด  เลขาธิการ กศน. กล่าวว่า ใน

               ชุมชน หนังสือถือเป็นสื่อที่ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงมากกว่าสื่อโซเชียลมีเดียในสังคมเมือง ที่ผ่านมาส านักงาน

               กศน.ได้จัดตั้งบ้านหนังสือชุมชนปัจจุบันมีอยู่จ านวน ๑๘,๕๐๐ แห่ง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากชุมชนเสียสละ
               พื้นที่บางส่วนของบ้านตนเองให้เป็นพื้นที่ที่ให้สมาชิกในชุมชนมาอ่านหนังสือซึ่งมีทั้งวารสาร หนังสือพิมพ์

               นิตยสาร ซึ่งได้รับมาจากการบริจาคและสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายต่างๆ และปัจจุบันหนังสือยังเป็นที่ต้องการ

               ของชุมชนอีกจ านวนมาก
                       ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอนาหว้า ได้น้อมน าค าพระราชด ารัส ตอน

               หนึ่งของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามราชกุมารี ว่า “การรู้หนังสือเป็นความจ าเป็นส าหรับทุกชาติที่

               ก าลังพัฒนาตลอดจนเป็นกิจกรรมที่ต้องร่วมมือกัน ส่งเสริมให้บรรลุผลให้ได้ ถ้าปราศจากพื้นฐานการรู้หนังสือ
               ของประชาชนในประเทศแล้ว ความพยายามในการ ด าเนินการพัฒนาคงไร้ผล การรู้หนังสือเป็นส่วนหนึ่งของ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64