Page 31 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 31

 ที่ดิน ภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อม ให้บริการยานพาหนะ โสตทัศนูปกรณ์ การ รักษาความปลอดภัยและการจราจรของศูนย์ ลาปาง และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ได้รับมอบหมาย
หลักสูตรการเรียนการสอน
จากการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลาปางค่อย ๆ เติบโตขยายการจัดหลักสูตรมาอย่างต่อเนื่องโดยคุณภาพ วิชาการในด้านการเรียนการสอนหลักสูตรจากทุกคณะของศูนย์ลาปาง ได้ทาตามนโยบายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ มาตรฐานเดยี ว ไมว่ า่ จะเปดิ ศนู ยใ์ ดกจ็ ะใชม้ าตรฐานการเรยี นการสอนแบบเดยี วกนั ใชอ้ าจารยค์ นเดยี วกนั หลกั สตู รวชิ าเรยี นเหมอื น กัน และจะต้องได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ
หลักสูตรการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ปี ๒๕๓๕ – ปัจจุบัน มีลาดับดังนี้
๑) หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง (๒๕๓๕ – ๒๕๔๑)
๒) หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ (๒๕๔๑ – ปัจจุบัน)
๓) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ วิทยาลัยสหวิทยาการ (๒๕๔๒ – ปัจจุบัน) ๔) หลักสูตรนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ (๒๕๔๖ – ๒๕๕๐)
๕) หลักสูตรสาขาศิลปการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ (๒๕๔๘ – ปัจจุบัน)
๖) หลักสูตรคณะนิติศาสตร์ ภาคปกติ คณะนิติศาสตร์ (๒๕๕๒ – ปัจจุบัน)
๗) หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตรการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
(๒๕๕๕ – ๒๕๕๘)
๘) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (๒๕๕๗ - ปัจจุบัน)
๙) คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ หลกั สตู ร วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาสาธารณสขุ ศาสตร์ และหลกั สตู ร สาธารณสขุ ศาสตรมหา
บ ณั ฑ ติ ( ๒ ๕ ๕ ๗ - ป จั จ บุ นั )
ปจั จบุ นั ดว้ ยการพฒั นาการ การเตบิ โตในการจดั การการเรยี นการสอนทา ใหห้ ลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรที ศี่ นู ยล์ า ปางเปดิ อยู่
๕ คณะ ๑ วิทยาลัย ได้แก่ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ วิทยาลัยสหวิทยาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะสาธารณสุขศาสตร์ และหลักสูตรปริญญาโท ๒ หลักสูตร คือ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และ สาธารณสุขศาสตร์ จัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานให้เกิด ประสิทธิภาพโดยมีระยะเวลาท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น โดย จัดการจัดการเรียนการสอนจันทร์ – ศุกร์ จานวน ๓ ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ แทน การจัดการเรียนการสอนจันทร์ – อาทิตย์ จานวน ๖ ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ มี ๘ หลักสูตร ใน ๖ คณะ ดังนี้
๑. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หลักสูตร สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต
๒. วิทยาลัยสหวิทยาการ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ และ สาขาวิชาปรัชญา การเมือง
และเศรษฐศาสตร์
๓ . ค ณ ะ ศ ลิ ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร ์ ห ล กั ส ตู ร ศ ลิ ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร บ ณั ฑ ติ ส า ข า อ อ ก แ บ บ ห ตั ถ อ ตุ ส า ห ก ร ร ม
๔. คณะนิติศาสตร์ หลักสูตร นิติศาสตรบัณฑิต
๕. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
๖. คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ หลกั สตู ร วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาสาธารณสขุ ศาสตร์ และหลกั สตู ร สาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ
๒๑











































































   29   30   31   32   33