Page 32 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 32

 ความเป็นมาของแต่ละคณะในศูนย์ลาปาง
๑. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ได้เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทั้งภาคปกติและ ภาคพิเศษโดยเฉพาะระดับปริญญาตรีน้ัน คณะได้ขยายการเรียนการสอนในหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต ไปท่ี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง โดยเร่ิมต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๑ เป็นต้นมา ด้านการบริหารวิชาการ คณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ แบ่งออกเป็น ๒ ภาควิชา คือ ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และภาควิชาการพัฒนาชุมชน ภายใต้ปรัชญา มุ่งพัฒนา สังคมและมนุษย์อย่างยั่งยืน ยึดหลักความเป็นธรรมในสังคม เคารพสิทธิ ศักดิ์ศรี ความหลากหลาย และความแตกต่างของมนุษย์ และวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ผลติ บณั ฑติ มหาบณั ฑติ และดษุ ฎบี ณั ฑติ ทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถในดา้ นการบรหิ าร วชิ าการ และการปฏบิ ตั ิ งาน ทางด้านสังคมสงเคราะห์ สวัสดิการสังคม และสาขาท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อสามารถเป็นผู้นาในการสร้างสังคมที่ดีงามและเป็นธรรม รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ที่เหมาะสม รวมทั้งให้บริการสังคม เกิด เครือข่ายหน่วยงานทางสังคมที่ทาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. วิทยาลัยสหวิทยาการ
โดยเหตทุ สี่ ภาวะเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คมทงั้ ภายในและระหวา่ งประเทศไดพ้ ฒั นาเจรญิ กา้ วหนา้ และมคี วามสลบั ซบั ซ้อนยิ่งขึ้นอย่างมาก พร้อมๆ กับพัฒนาการและความเจริญก้าวหน้านั้น ปัญหาต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมเพิ่มทวี ขึ้น มีความยุ่งยากซับซ้อนคาบเกี่ยวและ มีความละเอียดอ่อนมากยิ่งขึ้นตามไปด้วย ประกอบกับเมื่อพิจารณาในระดับพื้นที่จะเห็น ได้ว่าภาคเหนือของประเทศไทยเป็นภูมิภาคที่มีความโดดเด่นในด้านต่างๆ เช่น ประวัติศาสตร์ ทรัพยากร เป็นต้น รวมทั้งเป็นพื้นที่ ยุทธศาสตร์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง เนื่องจากมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ปรากฏการณต์ า่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ อนั เปน็ ผลมาจากการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั จา เปน็ ตอ้ งอาศยั องคค์ วามรจู้ ากศาสตรต์ า่ งสาขาทมี่ คี วามหลาก หลายเชงิ สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทา ความเขา้ ใจ อธบิ าย วเิ คราะห์ เพอื่ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา ทั้งเชิงรับและเชิงรุกให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาประเทศ เช่น องค์ความรู้จากสาขาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น
ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรย์ งั ยดึ มนั่ ในพนั ธกจิ เพอื่ ตอบสนองนโยบายของรฐั ในการขยายโอกาสทางการศกึ ษา ออกสู่ภูมิภาค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ในฐานะที่เป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงเห็นควรจัดให้ มีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ขึ้น โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือการบูรณาการศาสตร์แขนงต่างๆ เข้ามาในการเรียนการสอน ทั้งนี้เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและศักยภาพในเชิงสหวิทยาการออกไปรับใช้ประชาชนและสังคม ตลอดจนสร้างองค์ความรู้ที่มีลักษณะสหวิทยาการให้เท่าทันกับกระแส ความเปลี่ยนแปลงของโลก เพื่อการพัฒนา ป้องกัน และ แกไ้ขปญัหาตา่งๆในระดบัภมูิภาคและระดบัชาตติอ่ไปปัจจบุันปรญิาตรปีกตมิี๔สาขาคือวิชาเอกจนีศกึษา,วิชาเอกอนุภมูิภาค ลุ่มแม่น้าโขงศึกษา, วชิ าเอกการจดั การทรพั ยากรทางสงั คมและวฒั นธรรม, วชิ าเอกการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยงั่ ยนื และปรญิ ญาตรี โครงการพิเศษ สาขาวิชาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์
๓. คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสรรค์และการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมอันเป็นภารกิจ ที่สาคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา นอกจากภารกิจด้านการจัดการเรียนการสอน/การผลิตบัณฑิต การวิจัยและการให้ บริการวิชาการแก่สังคม ดังนั้น ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ ๗ (๒๕๓๕-๒๕๓๙) จึงได้มีนโยบายที่จะส่งเสริม
๒๒


























































































   30   31   32   33   34