Page 68 - Demo
P. 68
จารึกไว้ในประวัติ มธ. ศูนย์ลาปาง
ธรรมศาสตร์ลาปาง ในความทรงจา และความรู้สึก
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สายทิพย์ สุคติพันธุ์ ครูผู้สร้างเราชาว มธ.ลาปาง รวบรวมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา เทพภาพ
เล่าเรื่องเก่าก่อนที่เราจะขึ้นป้ายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลาปาง ที่หน้าอาคารศาลากลางหลังเดิม มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์มาขยายโอกาสการศึกษาตามปรัชญาของเรา เมื่อ ๒๕๓๕ ด้วยหลักสูตรปริญญาโท รัฐศาสตร์ MPE เราทา ความร่วมมือกับราชภัฏลาปาง
ดร.เอนก อาจารย์จารุณี สุนทรศารทูล อาจารย์ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ช่วยกันทา MPE จนมีชื่อเสียง มีศิษย์เก่าสองสาม ร้อยคนทั่วภาคเหนือ ชุมชนลาปางถามหาว่าเราจะทาหลักสูตร ป ตรี ให้ลูกหลานลาปางได้ไหม
อาจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร ท่านอธิการบดีในขณะนั้น ถามว่า “เราจะทาไหม?” ตอนนั้น ไม่คิดว่าจะยากนัก จึงตอบ ว่า “ทา ไดค้ ะ่ ” แตเ่ ราตอ้ งเรมิ่ ดว้ ยสาขาทมี่ คี วามแขง็ แรงทางวชิ าการ อาจารยน์ รนติ ิ สงั่ วา่ หลกั การสา คญั ทสี่ ดุ คอื ตอ้ งไดม้ าตรฐาน ไม่ประนีประนอมเรื่องมาตรฐานทางวิชาการเด็ดขาด
คณาจารยค์ ณะสงั คมสงเคราะหก์ ลา้ หาญทสี่ ดุ ไดต้ อบรบั คา ชวนเชญิ เปดิ ปรญิ ญาตรที ลี่ า ปาง โดยทา่ นคณบดเี ดชา สงั ขวรรณ และตอ้ งยอมรบั วา่ ครงั้ แรกคนลา ปางอยากไดค้ ณะแพทยก์ บั นติ ศิ าสตร์ ดฉิ นั สวมวญิ ญาณชาวสงั เคราะห์ (สงั คมสงเคราะห)์ อธบิ าย ถึงความเป็นหนึ่งของสังเคราะห์เราที่ลงตัวอย่างยิ่งดับการขยายโอกาสทางการศึกษา
ปัญหาคือ จะเรียนที่ไหน จะเรียนที่ราชภัฏก็เท่ากับว่ายังไม่ลงหลักปักฐานเป็นมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ตอนนั้นทบวง มีโครงการขยายวิทยาเขตไปภูมิภาค คุณบุญชู ตรีทอง กับ ส.ส. ลาปางหลายคน ก็พยายามผลักดัน หาที่ดินที่โน่นที่นี่เตรียมให้ มี อาจารยวุฒิสารด้วย อาจารย์ณรงค์ ใจหาญด้วย แต่กว่าจะพัฒาที่ดิน สร้างอาคารคงอีกเกือบสิบปี ศิษย์เก่าบางท่านเสนอว่า แบ๊งค์ชาติจะย้ายไปเชียงใหม่ ศาลากลางก็จะย้ายไปที่ใหม่ ทีมบุกเบิกก็ตามไปดู ตามไปเจรจา
อยากบอกให้พวกเราจาชื่อท่านผู้ว่าที่อนุญาตให้เราใช้ศาลากลาง ตอนนั้นผู้ว่าลาปาง คือ ท่านสหัส พินทุเสนีย์ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ รองสองท่าน ท่านพีระ มานะทัศน์ เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์, ท่านเฉลิมพล ประ ทีปะวณิช รัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ รองสองท่านไม่กล้าออกปาก เพราะตามแผนศาลากลางต้องใช้เป็นที่ว่าการอาเภอเมือง อาจารย์นรนิติ ชวนดิฉันไปคุยกับท่านผู้ว่า ท่านสหัส ตอบ “โอเค” ที่ทาการอาเภอเมืองรอได้ งานนี้จุฬาธรรมศาสตร์สามัคคี
ชว่ งนนั้ เราสอบคดั เลอื กสงั คมสงเคราะหป์ รญิ ญาตรรี นุ่ แรก รนุ่ พี่ MPE (รฐั ศาสตร)์ มายดึ หวั หาดศาลากลางไวก้ อ่ น เพราะ ยังจัดการให้มีอาจารย์มาสอน ปริญญาตรี ปีหนึ่งไม่ได้ลงตัว ปัญหาคือเอาเงินที่ไหนมาปรับปรุงศาลากลาง ซึ่งถูกทิ้งไปอย่าง ทรุดโทรม นักศึกษาสังเคราะห์ปีหนึ่งจึงไปเรียนที่รังสิต
ชว่ งนมี้ ที า่ นผใู้ หญใ่ จดสี องทา่ นมาชว่ ยเตรยี มงาน ทา่ นอาจารยจ์ ารณุ ี สนุ ทรศารทลู รฐั ศาสตร์ กบั ทา่ นอาจารยฉ์ นั ทลกั ษณ์ ณ ป้อมเพชร คณะพาณิชย์ฯ เราใช้เงินพี่ MPE ปรับปรุงห้องเรียนใหญ่สองห้องใช้งบประมาณซ่อมแซมทั้งหมด แต่เรามีเงินเพียง หลักแสน มีข้าราชการมาช่วยราชการสามคน มีพนักงานอีกไม่ถึงสิบคน อาจารย์สามคน ยังจากันได้ไหมเอ่ย พี่ๆรุ่นแรก พี่หมู พี่เป๋า พี่จา อาจารย์ฝน อาจารย์แกะ อาจารย์ต่าย อาจารย์โขมสี พี่จุ้ย พี่กล้วยบรรณารักษ์ พี่ดาว พี่เกด พี่วัลลา
เฟอร์นิเจอร์ห้องสมุดมีที่มาเก๋ที่สุด เราขอโต๊ะเก้าอี้จากหอสมุดที่ท่าพระจันทร์มา ขอรถทหารขนมาสามคันเป็นไม้แท้ อายหุ า้ สบิ ปที งั้ นนั้ เราเขา้ ไปรบั ศาลากลางทมี่ เี ศษขยะมากมาย ขวดเหลา้ จากหอ้ งสรรพสามติ เปน็ สบิ ๆลงั ขแี้ มวขคี้ า้ งคาวมากมาย บนเพดาน แล้วบนห้องใต้เพดาน เราก็พบรัฐธรรมนูญฉบับ ๒๔๗๕ จาลอง ที่เราอิ้บไว้จนทุกวันนี้
๕๘