Page 7 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 11
P. 7
แวดวงสาธารณสุข 7
กรมการแพทย-กรมควบคุมโรค
ลงนามความรวมมือเพิ่มประสิทธิภาพดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม
กรมการแพทย - กรมควบคุมโรค ลงนามขอตกลงบูรณาการการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซอนการทำงานดานอาชีวเวชศาสตร
และเวชศาสตรสิ่งแวดลอม ทั้งดานวิชาการ การจัดบริการ กรณีเกิดเหตุการณฉุกเฉินดานสิ่งแวดลอม เฝาระวังและเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉิน
ภัยสุขภาพ และใหการดูแลประชาชนเมื่อเกิดเหตุการณ
นายแพทยเจษฎา โชคดำรงสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปนประธานพิธีลงนามขอตกลงความรวมมือดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตร
สิ่งแวดลอม ระหวางนายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย และนายแพทยสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค
เพื่อความรวมมือดานวิชาการ ทั้งในและตางประเทศ ทั้งการศึกษาวิจัย การฝกอบรม การจัดบริการ ใหการดูแลประชาชนกรณีเกิดเหตุการณ
ดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม พัฒนามาตรฐานบริการ และการผลักดันนโยบายและกฎหมายตามพระราชบัญญัติโรคจากการ
ประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอมกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย จัดบริการดานการรักษาพยาบาล และพัฒนา
ศูนยความเปนเลิศดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพ และมีกรมควบคุมโรคเปนผูดูแลงานดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอม
ใหมีมาตรฐานสากล โดยประสานความรวมมือกับเครือขายทั้งในและตางประเทศในการผลิตและพัฒนาผูเชี่ยวชาญ องคความรู กฎหมาย การเฝาระวัง
ปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สงเสริมสนับสนุนถายทอดความรูใหเครือขายและประชาชน ผลักดันและติดตามการบังคับใชกฎหมายที่จำเปน
เตรียมความพรอมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพใหมๆ พัฒนาศักยภาพระบบ กลไกของเครือขายในการเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรค
และภัยสุขภาพ ซึ่งที่ผานมาพบวาทั้ง 2 กรม มีประเด็นการดำเนินงานใกลเคียงกัน และกลุมเปาหมายเดียวกัน จึงควรบูรณาการการทำงานรวมกัน
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดความซ้ำซอนในการทำงานดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม
สำหรับความรวมมือดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอมตามขอตกลงครั้งนี้ มีระยะเวลา 5 ป ประกอบดวย
1. การจัดทำแผนที่วิจัยและการวิจัย
2. พัฒนารูปแบบการจัดบริการ โดยเฉพาะการบริหารจัดการโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน การจัดทำมาตรฐานการประเมินและรับรอง
คุณภาพบริการ การจัดทําเกณฑการเฝาระวังและวินิจฉัยโรค และการตรวจทางหองปฏิบัติการ การตอบสนองตอเหตุการณดานอาชีวเวชศาสตร
และเวชศาสตรสิ่งแวดลอม และการผลักดันใหมีการดําเนินงานตามความรวมมือกับตางประเทศที่แตละกรมจัดทํารวมกัน
3. การจัดทําแผนกําลังคน หลักสูตรและการฝกอบรมบุคลากร
4. การรวมในการผลักดันนโยบาย การจัดทํารางพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงหรือแนวทางตามพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชีพ
และสิ่งแวดลอม
ทั้งนี้ ขอมูลกระทรวงสาธารณสุข ในป พ.ศ.2560 พบผูปวยโรคจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไมรวมเหตุจากการทำรายตนเอง คิดเปนอัตราปวย
รอยละ 17.12 ตอประชากรแสนคน ปวยเพิ่มขึ้นจากป 2559 ที่พบอัตราปวย 14.47 ตอประชากรแสนคน จังหวัดที่พบอัตราปวยสูงสุด ไดแก สตูล
แพร และอุตรดิตถ พบผูปวยซิลิโคสิส หรือโรคปอดจากฝุนหิน 195 คน จาก 28 จังหวัดทั่วประเทศ คิดเปนอัตราปวย 0.32 ตอประชากรแสนคน
ลดลงจากป 2559 ที่พบ 236 คน อัตราปวย 0.39 ตอประชากรแสนคน สูงสุดในจังหวัดนครราชสีมา อุตรดิตถและมหาสารคาม
สวนการเฝาระวังปองกันและควบคุมโรคจากมลพิษสิ่งแวดลอมไดดำเนินการอยางตอเนื่อง เชน ขยะอิเล็กทรอนิกส/ขยะอันตรายในพื้นที่ 5 จังหวัด
ไดแก บุรีรัมย กาฬสินธุ อุบลราชธานี ฉะเชิงเทรา และราชบุรี ไดคัดกรองสุขภาพฯ แรงงานในจังหวัดกาฬสินธุ พบมีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ
จากการยกของหนักมากที่สุดรอยละ 71.1 รองลงมาคือมีอาการผื่นคันผิวหนัง/คัดจมูกจากสัมผัสฝุน รอยละ 47.9 ผลการตรวจปสสาวะหาสารแคดเมียม
ในรางกายกลุมผูมีอาชีพคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส 173 ราย พบอยูในเกณฑปกติทุกราย สำหรับหมอกควันในภาคเหนือ พบอัตราปวยโรคระบบ
ทางเดินหายใจในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน คิดเปน 14,370.75 ตอประชากรแสนคน สูงสุดในจังหวัดแมฮองสอน นาน และพะเยา ตามลำดับ
ผูปวยสูงสุดในเดือนมกราคม สำหรับในภาคใตตอนลาง ไดติดตามขอมูลระดับฝุนละอองขนาดเล็กรายวัน
ปที่ 1 ฉบับที่ 11 กันยายน 2561 สารกรมการแพทย