Page 6 - E-Book Sutee
P. 6

ความหมายและความส าคัญ



                    ของการตรวจพลและการรบในนาฏศิลป์โขน


















              การแสดงโขน เนี่อหาส าคัญเป็นการจ าลองรูปแบบของ


       การจัดทัพ และยุทธกรีฑาของกรองทัพในสมัยโบราณอย่างน้อย

       ที่สุดรูปแบบที่ปรากฏอยู่ เชื่อกันว่าเป็นรูปแบบของการจัดทัพ


       ใ น สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายถึงต้นรัตนโกสินทร์

       (ตามหลักฐานที่ปรากฏ โขนมีมาแล้วไม่น้อยกว่า รัชสมัยสมเด็จ


       พระนารายณ์มหาราช จากจดหมายเหตุของลาลูแบร์)


              การจัดทัพในระยะนี้ เน้นความส าคัญอยู่ที่นายทัพหรือแม่ทัพ

       เป็นประการส าคัญ บุคคลเป็นนายทัพนี้จะมีอ านาจสูงสุด และจะอยู่


       ในต าแหน่งที่ส าคัญที่สุดของกองทัพ คือทัพหลวง จากนั้น

       จึงลดหลั่นความส าคัญไปในต าแหน่งรองฯ คือทัพหน้าและทัพหลัง


       ซึ่งจะกล่าวโดยระเอียดในเรื่องของการจัดล าดับความส าคัญ


       ในกองทัพ

              ดังที่กล่าวแล้วว่า เนื่อเรื่องส่วนใหญ่ของการแสดงโขน


       มุ่งที่การท าศึกสงครามงดงามอยู่ที่  กระบวนการจักทัพตรวจพล


       สามารถสะท้อนภาพของการจัดทัพในการท าสงคราม

       ในยุคต้นรัตนโกสินทร์อย่างเด่นชัด







                                                                                            หน้าหลัก
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11