Page 57 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 57

49


                                                              บทที่ 3

                                                           นาฏศิลปไทย



                      เรื่องที่ 3.1  ความหมายและความเปนมาของนาฏศิลปไทย



                      นาฏศิลปมีความหมายอยางไร

                             นาฏศิลปไทย คือ ศิลปะแหงการรายรําที่เปนเอกลักษณของไทย จากการสืบคน

                      ประวัติความเปนมาของนาฏศิลปไทย เปนเรื่องที่เกี่ยวของและสัมพันธกับประวัติศาสตรไทย

                      และวัฒนธรรมไทย จากหลักฐานที่ยืนยันวานาฏศิลปมีมาชานาน เชน การสืบคนในหลักศิลา

                      จารึกหลักที่ 4 สมัยกรุงสุโขทัย พบขอความวา “ระบํารําเตนเลนทุกวัน” แสดงใหเห็นวาอยาง

                      นอยที่สุด นาฏศิลปไทย มีอายุไมนอยกวายุคสุโขทัยขึ้นไป



                      นาฏศิลปไทยมีความเปนมาอยางไร
                              สรุปที่มาของนาฏศิลปไทยไดดังนี้

                              1. จากการละเลนของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งเปนกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและความ

                      รื่นเริงของชาวบาน ภายหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวขาวแลว ซึ่งไมเพียงเฉพาะนาฏศิลปไทย

                      เทานั้น ที่มีประวัติเชนนี้ แตนาฏศิลปทั่วโลกก็มีกําเนิดจากการละเลนพื้นเมืองหรือการละเลน

                      ในทองถิ่น เมื่อเกิดการละเลนในทองถิ่น  การขับรองโตตอบกันระหวางฝายหญิงและฝายชาย

                      ก็เกิดพอเพลงและแมเพลงขึ้น จึงเกิดแมแบบหรือวิธีการที่พัฒนาสืบเนื่องตอ ๆ กันไป

                              2. จากการพัฒนาการรองรําในทองถิ่นสูนาฏศิลปในวังหลวง เมื่อเขาสูวังหลวงก็มีการ

                      พัฒนารูปแบบใหงดงามยิ่งขึ้น มีหลักการและระเบียบแบบแผน ประกอบกับพระมหากษัตริย

                      ไทย ยุคสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร  ทรงเปนกวีและนักประพันธ  ดังนั้นนาฏศิลปไทย

                      จึงมีลักษณะงดงามและประณีต



                      นาฏศิลปไทยมีองคประกอบอยางไร

                              องคประกอบของนาฏศิลปไทย เปนศิลปะการแสดงที่มีความออนชอยและงดงามเปน

                      เอกลักษณของชาติไทย ซึ่งมีองคประกอบ ดังนี้

                             1. การฟอนรําหรือลีลาการรายรําออนชอย งดงาม และแสดงอารมณ เพื่อถายทอด

                      เรื่องราวของตัวละคร และสื่อความหมายในการแสดง



                                                                         ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003  57
                                                                                         ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62