Page 75 - 14_การเขยนรายงานในหนาทตำรวจ_Neat
P. 75

๖๘



              ÅѡɳТͧ¡Òúѹ·Ö¡¡Ò䌹

                          บันทึกหมายความถึงหนังสือใดที่พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจไวเปนหลักฐาน

              ในการสอบสวนความผิดอาญา (ป.วิ.อาญา มาตรา ๒ อนุมาตรา ๒๐)
                          ฉะนั้น บันทึกการคนจึงเปนบันทึกตามความหมายดังกลาว ถือเปนหลักฐานในการ

              สอบสวน
                          ป.วิ.อาญา มาตรา ๖๒ วรรค ๒ กลาววา “การแจงขอความในหมาย การสงหมายให

              ตรวจดูและวันเดือนปที่จัดการเชนนั้นใหบันทึกไวในหมายนั้น
                          หมายความวาเมื่อทําการคนโดยมีหมายคน จะตองแจงขอความในหมายใหผูเกี่ยวของ

              ทราบหรือใหเขาตรวจดูแลวใหเจาพนักงานผูตรวจคนทําการบันทึกในภายหลังหมายวา ไดแจงขอความ
              ในหมายใหผูเกี่ยวของทราบ แลวพรอมทั้งลงวันเดือนปที่ทําการคนไวดวย กรณีดังกลาวมิใชบันทึก

              การคนเปนแตเพียงรายละเอียดสวนหนึ่งของการบันทึกการคนแตก็ตองจัดการบันทึกไวตามที่กฎหมาย
              กําหนด
                          สําหรับลักษณะสาระสําคัญของการบันทึกคนนั้น ป.วิ.อาญา มาตรา ๖๓ ไดวางหลัก

              ไววา “เมื่อเจาพนักงานไดจัดการตามหมายอาญาแลวใหบันทึกรายละเอียดในการจัดการนั้น
              ถาจัดการตามหมายไมไดใหบันทึกพฤติการณไว”

                          นอกจากนี้กฎหมายยังไดบัญญัติไวใหเจาพนักงานผูคนบันทึกรายละเอียดแหงการคน
              และสิ่งของที่คนไดนั้นตองมีบัญชีรายละเอียดไวบันทึกการคนและบัญชีสิ่งของนั้น ใหอานใหผูครอบครอง

              สถานที่ บุคคลในครอบครัว ผูตองหา จําเลย ผูแทน หรือพยานฟงแลวแตกรณี แลวใหผูนั้นลงลายมือชื่อ
              รับรองไว (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๐๓)

                          จะเห็นไดวาตามมาตรา ๖๓ และ มาตรา ๑๐๓ นี้กฎหมายไมไดกําหนดแบบฟอรมใน
              การบันทึกไว จึงอาจวางหลักเกณฑการบันทึกการคน ดังนี้

                          ๑)  สถานที่บันทึก
                          ๒)  วัน เดือน ป ที่บันทึก

                          ๓)  ชื่อ ตําแหนง เจาพนักงานผูทําการบันทึก
                          ๔)  พฤติการณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการคนนั้นเปนสาระสําคัญซึ่งในสวนหนึ่งของกฎหมาย

              ไดระบุใหพนักงานผูทําการคนตองปฏิบัติ เชน การแจงขอความในหมายลงชื่อในบันทึกการคน,
              ผูครอบครองบานที่จะเขาไปคนไมยอมใหเขาคน อีกสวนหนึ่งเปนพฤติการณที่เกิดขึ้นในขณะทําการคน

              เชน เมื่อคนไปไดพบบุคคลหรือสิ่งของอะไรบางหรือไมพบเลย ใครเปนผูทําการตรวจคน มีพยาน
              หรือตัวแทนเปนใครบาง
                          กรณีที่การบรรยายตองลําดับเหตุการณหรือพฤติการณก็คือหลักใคร ทําอะไร ที่ไหน

              อยางไร ใหบรรยายเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นตั้งแตตํารวจผูทําหนาที่ตรวจคนรวมกันเขาไปในบานที่

              จะคนโดยมีการแสดงหมายตอผูครอบครองบาน มีการบันทึกในหมายคนถึงการแจงขอความในหมาย
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80