Page 12 - เนอหา1.6_Neat
P. 12
8
ค าว่า”ศาสนา” มีรากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Rellgion ซึ่งมาจากภาษาลาติน
ค าว่า Rellgare แปลว่า การรวมเข้าด้วนกันระหว่างสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยเป็นความ
สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับอ านาจเหนือมนุษย์
ค าว่า”ศาสนา” มาจากค าในภาษาสันสกฤตว่า”ศาสน” แปลว่า”ค าสอน
ข้อบังคับ”ตรงกับค าในภาษาบาลีว่า”สาสน” แปลว่า ศาสนาหรือค าสั่งสอนกับศาสดา
ศาสนา ตามพจนานกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายถึง
ลัทธิความเชื่อของมนุษย์อันมีหลักแสดงก าหนด และความสิ้นสุดของโลก อันเป็นในฝ่าย
ปรมัตต์ประการหนึ่งแสดงหลลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปตามฝ่ายศีลธรรม ประการ
หนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่จะท าตามความเห็นหรือค าสั่งในความเชื่อนั้นๆ
(3.สถาบันพระมหากษัตริย์)
ความหมายของ “พระมหากษัตริย์” ตามรูปศัพท์หมายถึง “นักรบผู้ยิ่งใหญ่”
ถ้าจะถือตามความหมายที่ใช้กันอยู่ทั่วไปกลีวามเข้าใจตามธรรมดาและพระมหากษัตริย์ก็คือ
พระเจ้าแผ่นดินในภาษาสันสกฤตค าว่า กษัตริย์ หมายถึงผู้ปกป้องหรือนักรบ มีค าเรียก
พระมหากษัตริย์หลายค าเช่น พระราชา หรือ ราชัน หมายถึงผู้ชุบน้อมจิตใจของผู้อื่นไว้ด้วย
ธรรม จักรพรรดิ หมายถึงผู้ปกครองที่ทุกคนพึงใจและเป็นผู้มีคุณธรรมสูง และใกล้เคียงกับ
ค าว่า ธรรมราชา หมายถึง ผู้ปฎิบัติธรรมทั้งเป็นทั้งเป็นต้นเหตุแห่งความยุติธรรมทั้งปวง
ไม่ว่าจะเป็นเลือกใช้ค าใด ค าว่า “ราชา” “กษัตริย์” “จักรพรรดิ” โดย
ความหมายแล้วน่าจะใช้เหมือนๆกัน อย่างไรก็ดีในสังคมไทยเรียกพระมหากษัตริย์ว่า “ใน
หลวง” “พ่อหลวง” “พ่อของแผ่นดิน” ความหมายก็คือผู้ปกครองที่เปลียบเหมือนพ่ออยู่
เหนือเกล้าอยู่เหนือชีวิตซึ่งชนชาวไทยมีความความจงรักภัคดีชั่วกาลนาน
2.ความส าคัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
1.ความส าคัญของสถาบันชาติ
สถาบันชาติคือ การส่งเสริมเกี่ยวกับความมันคงของประเทศชาติ ให้คนเรามี
ความสามัคคีมากยิ่งขึ้น โดยสถาบันนี้จะขึ้นอยู่กับสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวกับการป้องกัน
ประเทศและการทหารนั่นเองแต่ก็ไม่ใช่การส่งเสริมสถาบันจะเป็นเรื่องของการทหารเพียง
อย่างเดียวแต่มันคือการที่คนไทยทั้งประเทศจะต้องช่วยกันส่งเสริมสถาบันชาตินั่นเอง จะ
เป็นเรื่องของคนใดคนหนึ่งไม่ได้ถ้าเราไม่ช่วยกัน แล้วใครจะช่วยทุกคนมีหน้าที่เป็นของ
ตนเอง