Page 45 - ห้องสมุด
P. 45

ห น้ า  | 45




                    เรื่องที่ 6 การเขียนรายงานการคนควาและอางอิงความรู


                  1.  การเขียนรายงานการคนควา
                            การเขียนรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคนควา เพื่อนําเสนอผูบังคับบัญชา

                  หรือผูสอน

                          หลักการเขียนรายงาน
                          1.  ขอมูลที่เขียนตองเปนความจริง

                          2.  ขอมูลใดที่นํามาจากผูรูอื่นตองเขียนเปนเชิงอรรถและบรรณานุกรม

                          3.  เขียนเปนทางการ ใชภาษาถูกตอง และชัดเจน
                          สวนประกอบของรายงาน

                          1.  ปกหนา ประกอบดวยชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน และนําเสนอผูใด
                          2.  คํานํา เปนความเรียงมี 3  สวน คือ ความเปนมาและวัตถุประสงค  สาระของรายงาน

                  ประโยชนที่ไดรับและขอบคุณผูมีสวนชวยเหลือ

                          3.  สารบัญ
                          4.  เนื้อหาสาระ

                          5.  บรรณานุกรม
                  2 . การเขียนอางอิงความรู

                            การเขียนอางอิงความรู หมายถึง การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม

                          1.  เชิงอรรถ
                              เชิงอรรถเปนชื่อผูเขียน ปที่พิมพและเลขหนาหนังสือที่นําไปใชประกอบการเขียน เชน

                  อุทัย ศิริศักดิ์ (2550, หนา 16) การเขียน อางอิงแบบนี้จะไมไดเขียนชื่อหนังสือ ชื่อหนังสือจะเขียน

                  ในหนาบรรณานุกรม
                          2.  บรรณานุกรม

                              บรรณานุกรม ประกอบดวยรายชื่อหนังสือที่ใชประกอบการเขียน โดยจะตองเขียน
                  เรียงตามตัวอักษรชื่อผูแตง โดยเขียนชื่อผูแตง ชื่อหนังสือ ชื่อสถานที่พิมพ ชื่อโรงพิมพและปที่พิมพ เชน

                              กนกอร ทองคํา. การใชภาษาไทย,  กรุงเทพฯ : ไทยวิวัฒน, 2549.

                              ศิริอร ทองอําไพ. หลักการใชภาษา,  นนทบุรี :ไทยเจริญ, 2550
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50